Page 25 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 25

สุดทายเราอยาถือวาความผิดบกพรองในพระบัญญัติประการที่ ๖ และ ๙ นี้

                                             เปนเรื่องธรรมดาไมสำคัญอะไร แตตองเขาใจวามันเปนความผิดบกพรองที่ทำใหเราสูญเสีย
                                             คุณคาของ ความเปนมนุษยลดฐานะอันสูงสงที่พระเปนเจาประทานใหอยางมาก... และ
                                             ในประวัติศาสตรโลกมนุษยก็ถูกลงโทษถูกทำลายถูก ชําระลางเพราะเรื่องนี้มาแลว ไมวา

                                             จะเปนน้ำมหาวินาศ หรือ ไฟจากฟาที่ทำลายเมืองโชดม เมืองโกโมรา ก็เชนกัน

                                                    นอกจากความศรัทธาภักดีตอพระแมมารีย ยังนำมาซึ่งกำลังใจและพระพรที่
                                             พระมารียจะทรงวอนขอพระเจาเพื่อเราอีกดวย








                                                             บทที่ ๒๔



                     • อยาลักขโมย

                     • อยามักไดทรัพยสินของผูอื่น

                     พระบัญญัติทั้งสองประการนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับความยุติธรรมตอทรัพยสินของผูอื่น
              คําวาทรัพยสิน หมายถึง ขาวของ เงินทองทุกอยาง รวมไปถึงอาคารสถานที่ (ที่ดิน) และ

              สิ่งมีชีวิต (สัตว) ทุกชนิดดวย
                     ตามความเชื่อของเรา เราถือวาสรรพสิ่งสรรพสัตวทั้งหลายลวนแลวแตมาจากพระเจา
              พระองคทรงเปนผูสรางขึ้นมาและจุดประสงคของการสรางก็เพื่อมนุษยทั้งสิ้น มนุษยจึงตองรูจัก

              ใชทรัพยสินตาง ๆ อยางดี อยางคุมคาในเวลาเดียวกันพระองคก็ทรงประทานทรัพยสิ่งของตาง ๆ
              ใหเปนกรรมสิทธิ์ของแตละคน เปนการสวนตัวดวยเหมือนกัน และในขณะเดียวกันก็มีทรัพยสิน

              สิ่งของที่เปนของสวนรวมหรือของสาธารณะดวย
                     พระบัญญัติประการที่ ๗ “อยาลักขโมย” กินความหลายแงหลายมุม ดังตอไปนี้
                     ๑. การเอาทรัพยสินของคนอื่นไปโดยผิดยุติธรรม ซึ่งมีการกระทําผิดในแงมุมนี้หลายลักษณะ เชน

                     ก. ขโมย หมายถึงการเอาทรัพยของผูอื่นมา โดยที่เจาของไมรูเชน ขโมยเงินพอแม ยักยอกเงินของบริษัทหรือขโมยของ
              มีคาของผูอื่น ฯลฯ

                     ข. กินดอกเบี้ยเกินควร หมายถึงใหกูเงิน โดยคิดดอกเบี้ยสูงมาก ถามวามากแคไหนตามปกติตองไมเกินอัตราของธนาคาร
              หรือบางครั้งตํ่ากวาธนาคาร ก็ถือวาเปนการชวยเหลือผูอื่นไดอีกวิธีหนึ่งเหมือนกัน แตถาหากคิดดอกเบี้ยสูง ๆ อยางนี้ ถือเปน
              ความผิดแลว

                     ค. ฉอโกง หมายถึง การทําผิดดวยการใชวิธีการโกงผูอื่นกระทำผิดยุติธรรม เชน ใชเอกสารปลอม ใชแงของกฎหมายมา
              บังคับ เชน การฉอราษฎรบังหลวง (คอรัปชั่น) เชิงนโยบาย ออกกฎหมายเพื่อเอื้อตอตัวเองและพวกพอง เปนตน
                     ง. นายจางที่ไมจายคาจางอันชอบธรรม เชน ใหคาตอบแทนคนงานนอยเกินไปไมยุติธรรม ใชงานหนักแตใหคาตอบแทน

              ไมสมกับคาแรง ซึ่งพบเห็นกันบอย ๆ รวมถึงไมจัดสวัสดิการที่จำเปนใหคนงานดวยการกระทำเชนนี้ถือเปนความผิดเพราะ
              ขาดความรักความเมตตา เอาเปรียบผูอื่น
                     จ. ในทางกลับกัน ลูกจางที่อูงาน ทำงานไมเต็มที่ หนีงาน ก็ถือเปนการกระทําผิดยุติธรรมตอนายจางเหมือนกัน

              ซึ่งเราจะเห็นวามีการกระทํากันเชนนี้บอย ๆ






                                                                ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖ ๒๕
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30