Page 27 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 27

โดยภาพรวมพระบัญญัติประการที่ ๘ หามการกระทําในประเด็นตอไปนี้
                     ๑. มุสา คือ หามการพูดเท็จหรือหามโกหก โดยตองการจะหลอกลวงผูอื่น
              อยางไรก็ตามในบางกรณีเราสามารถปฏิเสธที่จะพูดความจริงไดเหมือนกัน เชน

              การรักษาความลับของบางอาชีพ ตัวอยางเชน แพทย เลขานุการ การปองกัน
              ประเทศชาติ และสวนรวม หรือปองกันตัวเองหรือผูอื่นจากคนราย เพื่อชวยรักษาชีวิต

              และทรัพยสิน เชน เรารูวาเขาตองการจะทํารายคนคน หนึ่งและเขามาถามเราถึง
              ที่อยูของคนนั้น เราสามารถปฏิเสธไดอยางนี้ไมผิด
                     ๒. การเปนพยานเท็จ ถือเปนความผิดที่กอใหเกิดความเสียหายตอผูอื่น

              ทําใหความจริงถูกบิดเบือน เกิดการผิดตอความยุติธรรม ผูที่ใหการเท็จตอหนาศาล
              ตองรับผิดชอบตอคําใหการของตนดวย

                     ๓. การผิดตอชื่อเสียงของผูอื่น มีการใสรายปายสี ทําใหผูอื่นเสียหาย ซึ่งหมายถึงการใสความนั่นเอง นอกจากนั้น
              ยังหมายถึงการพิพากษาตัดสินผูอื่นดวยเบาความ คือ การไมมีเหตุผลหรือขอเท็จจริงในการตัดสินผูอื่น
                     ๔. การผิดตอความลับ หมายถึง การไมรักษาความลับของผูอื่น เชน นําขอบกพรองของผูอื่นไปพูด สวนใน กรณีของ

              ความลับในการแกบาปพระสงฆจะเปดเผยไมไดเด็ดขาด ไมวากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น แมตองตายก็ตาม



                                                                           ขอควรระวังเกี่ยวกับการกระทําผิดในพระบัญญัติ
                                                                    ขอนี้คือ ตองระวังวาเปนความผิดที่เกิดขึ้นงายจริง ๆ คลาย ๆ
                                                                    กับการผิดยุติธรรมในทรัพยสินเหมือนกัน แตดูเหมือน

                                                                    ประการที่ ๘ ผิดตอ ชื่อเสียงนี้จะกระทํางายกวาอีก...
                                                                           เชนเดียวกัน เมื่อเกิดความผิดในขอนี้ การแกไข

                                                                    จะลําบากมาก เพราะตองมีการชดใชหรือชดเชย ความผิด
                                                                    ใหครบสมบูรณ บาปจึงจะไดรับการยก เชน มีการใสความ
                                                                    หรือนินทากันเกิดขึ้น ผูที่กระทําผิดตองแกขาว คืน ชื่อเสียง

                                                                    ใหแกผูถูกละเมิดจนครบถวน... คลาย ๆ กับการแกขาว
                                                                    เรื่องการหมิ่นประมาท ตามหนาหนังสือพิมพนั่นเอง ที่บอกวา
                                                                    แกไขลําบากเพราะมีการขยายความขอผิดพลาดนี้ไปแบบ

                                                                    ปากตอปาก ดังนั้น เมื่อจะแกไขจึงตองตามแกใหหมดดวย





























                                                                ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖ ๒๗
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32