Page 32 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 32

บุญบั้งไฟ : สูเสนทางศรัทธาตามรอยพญานาคลุมแมน้ำโขง











                                                                                         เรียบเรียงโดย นางสาวกัญญา แกวคำฟุน
                                                                           นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ สำนักงานเลขานุการกรม

                    เทศกาลบุญบั้งไฟ บางคนก็เรียก “บุญบองไฟ” บางทีก็เรียก “บุญเดือนหก” โดยบุญบั้งไฟในชวงเดือนพฤษภาคม

             ถึงเดือนมิถุนายนของทุกป ซึ่งเปนชวงฤดูฝน เปนประเพณีที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมวิถีชีวิตของคนไทยไดผูกพันกลมกลืนกับ
             ความเชื่อและหลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา

                    บันทึกเกี่ยวกับบุญบั้งไฟ ในประเทศไทย กลาววา

             บั้งไฟ เปนจรวดโบราณสมัยกอนประวัติศาสตรซึ่งเปน
             ภูมิปญญาเทคโนโลยีล้ำยุคของชาวเผาไท ที่คิดคนขึ้นมาไม
             ต่ำกวา ๕,๐๐๐ ป กอนที่จะแยกยายมาเปนเผาตาง ๆ จุดมุงหมาย

             ในการทำบั้งไฟนั้น เพื่อใชในประเพณีขอฝน ซึ่งปรากฎ
             จากหลักฐานการจุดบั้งไฟ เพื่อใชในประเพณีขอฝนของ

             ชนเผาไท มีหลักฐานปรากฏการจุดบั้งไฟในเผาลื้อ ไท-ยวน
             ไทพวน ไทอีสาน ไทดำ ไทแดง ไทครั่ง และอื่น ๆ ในมณฑล
             ยูนนาน กอนที่จะอพยพมาอยูในประเทศไทย

                    ประวัติของบุญบั้งไฟในมิติของพระพุทธศาสนา
             การทำบุญบั้งไฟถือวาเปนการฉลองและบูชาในวันวิสาขบูชา

             กลางเดือนหก มีการทำดอกไมไฟในแบบตาง ๆ ทั้งไฟ น้ำมัน
             ไฟ ธูปเทียน และดินประสิวในงานนี้มีการรักษาศีล การใหทาน
             การบวชนาค และนิมนตพระเทศนอานิสงส สำหรับประวัติ

             ของบุญบั้งไฟในมิติของศาสนาพราหมณ การบูชาเทพเจา
             ดวยไฟ ถือวาเปนการบูชาเทพเจาเบื้องบนสวรรค

             ดังนั้น การจุดบั้งไฟเปนการละเลนอีกอยางหนึ่งและเปน
             การบูชาเทพเจา เพื่อใหพระองคบันดาลในสิ่งที่ตนตองการ
                                                                 https://roiet.m-culture.go.th/th/db_75_roiet_8/136459#gallery-3

                    ในเทศกาลบุญบั้งไฟ หากหมูบานจะทําบุญนี้ พวกชาวบานพรอมดวยคณะสงฆก็ปรึกษาใหตกลงกันกอนวาจะประกอบ

             พิธีในเดือนไหน เมื่อสรุปชัดเจนแลวจึงมีฎีกาบอกบุญไปยังหมูบานที่ใกลเคียงเพื่อมาทําบุญรวมกัน “บั้งไฟ” นั้นทําดวยไมไผ
             ทําดวยลําตาลหรือไมอื่น ๆ แลวแตสะดวกในทองถิ่นตามขนาดเรียกวา “บั้งไฟแสน” “บั้งไฟหมื่น” และ “บั้งไฟยอย”
             บางแหงไดพัฒนาเปนบั้งไฟที่มีขนาดใหญขึ่นเปน “บั้งไฟลาน” บั้งไฟจะมีการประดับประดาตกแตงดวยกระดาษสีตาง ๆ ปดสลับ

             เพื่อความสวยงามที่เรียกกันวา การเอบั้งไฟ รวมถึงนางรำในขบวนฟอนที่หนาตาสวยงาม รำสวยโดดเดนหรือรำในแถวหนาของ




              ๓๒  วารสารสายตรงศาสนา
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37