Page 35 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 35
มหัศจรรยวัดไทย
เรียบเรียงโดย นายชยานนท บัวงามดี
นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ กลุมดิจิทัล สำนักงานเลขานุการกรม
วัด คือ ศาสนสถานสำหรับการประกอบกิจกรรมทางพุทธศาสนา เปนที่อยูอาศัยของพระสงฆ และการบำเพ็ญศาสนกิจ
ของพุทธศาสนิกชน หมายถึงตัวอาคาร วัตถุ ซึ่งวัดหมายรวมถึง ตัวอาคาร ปูชนียวัตถุ และบริเวณวัดในสมัยพุทธกาลการประกอบ
พิธีกรรมหรือกิจกรรมทางศาสนา ไมจำเปนตองมีอาคารแบบถาวร แตมีการกำหนดขอบเขตหรือใชสถานที่ที่มีอยูตามธรรมชาติ
และมีความเหมาะสมตอสถานการณ ตอมาเมื่อพุทธศาสนาไดรับยอมรับนับถือกันแพรหลาย มีพระสงฆและผูศรัทธาเพิ่มมากขึ้น
วัดจึงกลายเปนสิงสำคัญที่ตองมีการกอสรางอยางถาวร
วัด หรือศาสนสถานมักสรางดวยวัสดุที่แข็งแรงทนทาน เพราะเปนการสรางดวยความศรัทธา และถือเปนการสรางกุศล
อันยิ่งใหญ จะเห็นไดจากวัดและโบราณสถานที่มีอยูจำนวนมากทั่วทุกภาคของประเทศไทยที่มีอายุนับรอยนับพันป โดยวัดและ
โบราณสถานดังกลาวเปนหลักฐานใหเราทราบไดวาประเทศไทยไดมีการสรางวัดในพระพุทธศาสนามาแลวเปนเวลานับ ๑,๐๐๐ ป
โดยไดรับคติทางศาสนาทั้งพุทธและพราหมณจากประเทศอินเดีย ผานทางพอคา นักบวช และคนในวรรณะอื่น ๆ ที่เดินทางเขามา
ที่ประเทศไทย ตามหลักฐานที่แสดงวามีการติดตอคาขายจากอินเดียตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลาย เชน พบลูกปดหินสี
แบบอินเดียจำนวนมากที่แหลงโบราณคดีบานดอนตาเพชร จังหวัดกาญจนบุรี การเขามาติดตอคาขายหรือเขามาโดยวัตถุประสงคอื่น ๆ
ของชาวอินเดีย ทำใหวัฒนธรรมอินเดียแพรไปสูคนพื้นเมืองและผสมผสานเขากับวัฒนธรรมดั้งเดิม เกิดเปนวัฒนธรรมรูปแบบ
เฉพาะขึ้นในภูมิภาคตาง ๆ
ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖ ๓๕