Page 33 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 33
ขบวนฟอน ในฐานะที่เปนบรรทัดฐานทางสังคม “ฮีต ๑๒” หรือ “งานประเพณี ๑๒ เดือน” ของชาวอีสานนั้น พอถึงเดือน ๖
ก็จะมีงานบุญวิสาขบูชาและงาน “บุญบั้งไฟ” หรือ “บองไฟ” นับเปนงานบุญทองถิ่นที่สืบทอดกันมานานในจังหวัดภาคอีสาน
โดยมีความเชื่อวาเปนการบวงสรวงเทพยดาบนฟา (แถน) บันดาลใหฝนตกตองตามฤดูกาลเพื่อที่พืชพันธุธัญญาหารทั้งหลาย
จะไดอุดมสมบูรณ
“สัญลักษณ” ที่อยูกับพิธีนี้ เมื่อเรากลาวถึง “บั้งไฟ”
เราก็มักนึกถึง “พญานาค” ควบคูกันไป จึงทําใหผูคนสนใจที่จะ
ตีความ และอธิบายความหมายของนาคในเชิงสัญลักษณ
ที่ปรากฏอยูในพิธีดังกลาวในหลาย ๆ แงมุมแตกตางกัน ทั้งๆ
ที่ยังมีพิธีอื่นที่นาคมีความหมายที่สําคัญในพิธีนั้น เหตุนี้
เองนัยยะความหมายของนาคอีกแงมุมหนึ่งก็คือ “เจาแหงน้ำ”
ตัวแทนของความอุดมสมบูรณตอวัฒนธรรมความเปนอยู
ของคนอีสาน กลาวคือ ในชวงประมาณเดือนพฤษภาคมตอ
กับมิถุนายน (เดือนหก) ของทุกป หมูบานอีสาน สวนใหญจะ
ตองจัดประเพณีบุญบั้งไฟกอนฤดูทํานา ในแงมุมทางประวัติศาสตร
และตํานานของบุญบั้งไฟก็มีเรื่องราวความเชื่อของคนอยาง
ยาวนานและตอเนื่อง ในตำนานพื้นบานหลายเรื่อง เชน
“ผาแดงนางไอ” “ตํานานหนองหาน” และ “นิทานเรื่อง
พญาคันคาก” เปนตน สะทอนถึงปรากฏการณที่มีความเปนมา
ทางประวัติศาสตร และตั้งอยูบนพื้นฐานทางความเชื่อ คานิยม
และโลกทัศนอันสัมพันธกับวิถีชีวิตโดยรวมของคนอีสานอีกดวย
ดวยความเชื่อและความศรัทธาอยางแรงกลาของคน
อีสานที่มีตอนาค อันเปนสัญลักษณของความสมบูรณ
กรมการศาสนาไดดำเนินการตามนโยบายของกระทรวง
วัฒนธรรมในการนำ Soft power ในมิติศาสนา โดยดำเนิน
งาน “โครงการจัดทำองคความรู “นาค : ตำนานและ
ความเชื่อในคติศาสนา” จัดพิมพเปนหนังสือพรอมภาพ
ประกอบที่งดงาม มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับนาค ไดแก
นาคในประวัติศาสตรอุษาคเนย การกำเนิดนาคในพระพุทธ
ศาสนา ตำนานของนาคในพระพุทธศาสนานาค ในสังคมไทย
ศิลปกรรมเกี่ยวกับนาคในประเทศไทย จากตำนานสูความเชื่อ
ของคนไทย นาค : เสนทางความเชื่อความศรัทธา เพื่อสงเสริม
ความรูเกี่ยวกับนาคในฐานะที่เปนเอกลักษณประจำชาติ
ประเภทสัตวในตำนาน รวมถึง ไดจัดทำเสนทางความเชื่อ
ความศรัทธาแหงลุมแมน้ำโขง ตามรอยพญานาคใน
๕ จังหวัดภาคอีสาน ไดแก จังหวัดมุกดาหาร
ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖ ๓๓