Page 34 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 34
นครพนม บึงกาฬ หนองคาย และจังหวัดอุดรธานี มีแหลงศาสนสถานที่ นักทองเที่ยวหามพลาด ตองไปเยี่ยมเยือน เชน
พญาศรีภุชงค มุกดานาคราช พญาอนันตนาคราช พญาศรีมุกดามหามณีนีลปาลนาคราช วัดพระธาตุพนม พญาศรีสัตตนาคราช
ถ้ำนาคา วัดพระธาตุหลาหนอง และวังนาคินทร คำชะโนด เปนตน
เทศกาลบุญบั้งไฟที่ไดจัดอยางยิ่งใหญมีหลายจังหวัดในภาคอีสาน เชน จังหวัดรอยเอ็ด ยโสธร ถือเปนประเพณีและ
วัฒนธรรม เกิดจากความเชื่อและความศรัทธาทางศาสนา ยึดหลักการปฏิบัติธรรมและการบูชา เพื่อใหเห็นคุณคาและการสืบทอด
ของภูมิปญญาทองถิ่น ซึ่งไดสรางสรรคออกมาเปน “ศาสตรและศิลป” และ “ศาสตรและศาสน” กอใหเกิดเปนเสนทาง
ความเชื่อความศรัทธาแหงลุมแมน้ำโขง ตามรอยพญานาค ที่นักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศสามารถเดินทางมา
รวมเทศกาลบุญบั้งไฟ และเดินทางตามรอยพญานาคในสถานที่ตาง ๆ เรียกวาการ “ทัวรตามรอยพญานาค” และ “ทัวรบั้งไฟ
พญานาค” ซึ่งการทองเที่ยวในมิติศาสนาที่มีศาสนสถาน วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อเกี่ยวกับพญานาค จะเปนพลังสำคัญ
ในการขับเคลื่อนงานดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ดวยการนำ Soft Power ตอยอดทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยว
มาใชเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ กลายเปนสินคาสงออกทางวัฒนธรรม นำรายไดเขาประเทศและขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยใหยั่งยืน
http://www.dhammathai.org/culture/boonbangfai_yasothon.php
แหลงอางอิงขอมูล
จิตรกร เอมพันธ. (๒๕๔๕). พญานาค เจาแหงแมน้ำโขง : พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบานแหงวัฒนธรรมอีสาน. วิทยานิพนธปริญญามานุษยวิทยา
มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พระพีระพงษ พิชาลี. (๒๕๖๑). อัตลักษณของประเพณีบุญเดือนหก (บุญบั้งไฟ) กรณีศึกษาตําบลบานถอน อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย.
วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต .
พระวรศานต วรธมฺโม (วัฒนวงศ). (๒๕๖๑). การศึกษาแนวทางบูรณาการหลักธรรมที่ปรากฏในประเพณีบุญบั้งไฟ กับหลักสูตรทองถิ่นในสถานศึกษา
สังกัดเทศบาลนครอุดรธานี.วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๓๔ วารสารสายตรงศาสนา