Page 36 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 36

วัด โบราณวัตถุและโบราณสถานในรูปแบบวัฒนธรรมเฉพาะในภูมิภาคตาง ๆ ที่เหลือใหเราไดเห็นเปนหลักฐานและ
             จากการศึกษาคนควา พบวาลวนเปนของที่เกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนาเปนสำคัญ เริ่มตั้งแตวัฒนธรรมที่เปนรูจักในชื่อ
             ทวาราวดี ซึ่งเปนวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ เจริญขึ้นทางภาคกลาง และแพรหลาย

             ไปทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระพุทธศาสนาในสมัยนี้เปนพระพุทธศาสนาลัทธิเถรวาท (หินยาน) เปนหลัก วัดและ
             โบราณสถานในวัฒนธรรมทวาราวดีที่ไดพบสวนใหญเปนสถูปและเปนวิหารเหลือเพียงสวนฐาน เชน หนาวัดพระเมรุ

             จังหวัดนครปฐม วัดธรรมจักรเสมาราม จังหวัดนครราชสีมา เปนตน โดยในทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็มีวัฒนธรรมแบบขอม
             หรือเขมรโบราณในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ ไดพบวัด โบราณวัตถุและโบราณสถานจำนวนมาก โดยเฉพาะทางตอนลางของ
             ภาคตะวันออกเฉียวเหนือ วัด โบราณสถานเหลานี้มีทั้งของศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธ ปราสาทพนมรุง จังหวัดบุรีรัมย

             ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา สวนในภาคใตก็มีรูปแบบศิลปะหรือวัฒนธรรมที่เรียกวา ศรีวิชัย อายุราวพุทธศตวรรษที่
             ๑๓-๑๖ วัด โบราณสถานสวนใหญไดรับอิทธิพลทางศาสนาที่เขามาจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย ซึ่งเปน

             พุทธศาสนาลัทธิมหายาน ยกตัวอยางเชน วัดพระบรมธาตุไชยา วัดแกว จังหวัดสุราษฎรธานี และในทางภาคเหนือครั้งเมื่อ
             อาณาจักรไทยที่ตั้งเปนรัฐอิสระรวมกันเปนปกแผนกอตั้งเปนประเทศขึ้นในสมัยสุโขทัย ศาสนาพุทธที่เดินเปนนิกายมหายาน
             ไดเปนนิกายเถรวาทหรือหินยานที่เขามาจากลังกา และไดมาเปนที่นับถืออยางแพรหลายจนถึงปจจุบัน วัดและศาสนสถานที่

             สรางตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๑๔ เปนตนมา จึงเปนวัดในพระพุทธศาสนาเกือบทั้งสิ้น ดังที่เห็นเปนวัด โบราณสถานตาง ๆ เชน
             ในอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย เชียงแสน เชียงใหม ลำพูน เปนตน





















                    วัด ในปจจุบันมีบทบาทสำคัญตอวิถีชีวิตของคนไทย        การดำเนินงานของกรมการศาสนาภายใตนโยบาย
             และชุมชนเปนอยางมาก เปนปจจัยเกื้อหนุนตอการศึกษา   “นำธรรมะสูใจประชาชน” ไดมุงเนนการเปดโอกาสใหประชาชน

             ปฏิบัติ ปจจัยที่เอื้อตอการเปนอยูที่ดีและการพัฒนาตนเอง  สามารถเขาถึงหลักธรรมทางศาสนามากยิ่งขึ้น และทุนทาง
             ชวยใหความเจริญตั้งมั่นไมเสื่อมถอย โดยเฉพาะที่ชวยเกื้อหนุน  วัฒนธรรม เปนพลังในการขับเคลื่อนอำนาจละมุน (Soft Power)

             การบำเพ็ญและประคับประคองรักษาสติปญญา สามารถดำเนิน    “เสริมสรางเศรษฐกิจชุมชน” ดวยการตอยอดงานเดิม ขยาย
             การหรือการจัดการ กิจกรรมตาง ๆ ของหมูคณะหรือองคกร   งานใหม ผานการดำเนินการตามนโยบาย ๙ ดาน ประกอบดวย
             ตาง ๆ ใหสำเร็จลุลวงไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนสถานที่  ๑. การเทิดทูนสถาบันหลักของประเทศ ๒. การสงเสริมคุณธรรม

             ในการประกอบกิจกรรมการเผยแผพระพุทธศาสนาอยาง          จริยธรรม ดวยการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการดานการสงเสริม
             แพรหลาย ดังนั้นวัดจึงเปรียบเสมือนเปนศูนยรวมจิตใจของ  คุณธรรมแหงชาติ ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ๓. สงเสริม

             คนไทยและศูนยกลางกิจกรรมตาง ๆ ทางสังคม และเปนสวน   ปลูกฝงใหประชาชนนำหลักธรรมทางศาสนาไปปรับใชใน
             ประกอบที่จำเปนสำหรับชุมชนแตละระดับ แตละทองถิ่น    ชีวิตประจำวัน ๔. อุปถัมภและสงเสริมกิจการดานศาสนา
             นับวาวิถีชีวิตของคนไทยไดผูกพันอยูกับวัดอยางแนนแฟน  ๕. เทศกาลและประเพณีทองถิ่น ๖. มิติการเสริมสรางเศรษฐกิจ

             โดยแทจริง                                            ๗. ขับเคลื่อน Soft Power ทองเที่ยวมิติศาสนา ๘. ยกระดับ
                                                                   การบริหารจัดการงานดานศาสนา ๙. ศาสนิกสัมพันธตาง

                                                                   ประเทศ

              ๓๖  วารสารสายตรงศาสนา
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41