Page 15 - [E-book] วันศาสนูปถัมภ์ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๕
P. 15

วันศาสนูปถัมภ์  พ�ทธศักราช ๒๕๖๕





                     ดวยเหตุทั้งสองประการดังกลาวแลว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ประกาศตั้งกรมธรรมการ
           เปนกระทรวงธรรมการ เมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕
                     การปรับปรุงกรมธรรมการเปนกระทรวงธรรมการครั้งนี้ เปนการยกฐานะกรมซึ่งมีงานมากขึ้น

           เปนกระทรวงตามพระราชประสงคและตัดเอากรมแผนที่ซึ่งมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการศึกษามากนักออกไป
           สังกัดอื่น สวนงานหลักของกรมใดที่เคยทำอยูกอนก็ใหทำตอไป กรมธรรมการสังฆการีไดรับการเปลี่ยนชื่อ
           เปนกรมสังฆการี ดังนั้น งานของกรมสังฆการีจึงเปนงานที่มาจากงานของกรมธรรมการสังฆการีเดิมนั่นเอง
           มีการเปลี่ยนแปลงก็แตเฉพาะขยายปริมาณงานใหครอบคลุมทั่วประเทศ กวางขวางออกไปเทานั้น


           สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘)
                     ในสมัยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ฐานะของกรมการศาสนา
           ซึ่งอยูในนาม กรมสังฆการี มาแตสมัยรัชกาลที่ ๕ นั้น ไดมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขึ้นอีก ๓ ครั้ง คือ
                     ครั้งแรกในป พ.ศ. ๒๔๕๔ ไดทรงพิจารณาเห็นวาหนาที่ราชการในกระทรวงธรรมการแตเดิม
           มีกรมขึ้นใหญบาง เล็กบาง มีกิจการตองทำไมสมสวนกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดระเบียบใหม
           ออกเปน ๕ กรม คือ กรมกลางหรือแผนกบัญชาการ ๑ กรมสังฆการี ๑ กรมธรรมการ ๑ กรมราชบัณฑิต ๑
           กรมศึกษาธิการ ๑ โดยแยกกรมธรรมการสังฆการีออกเปน ๒ กรม คือ กรมสังฆการี กับ กรมธรรมการ

                     กรมสังฆการี มีหนาที่
                     ๑.  สำรวจและทำบัญชีพระภิกษุสามเณรโดยแยกเปนมณฑล ตามวุฒิ และสมณศักดิ์
                     ๒.  จัดการบรรพชาอุปสมบท  แตงตั้งพระสังฆาธิการและพระสมณศักดิ์  พระอุปชฌาย
           การสอบไลพระปริยัติธรรม การตั้งไวยาวัจกร และการพระราชกุศล
                     ๓.  ควบคุมและปราบปรามอลัชชีภิกษุ ตลอดจนตรวจการปกครองคณะสงฆ
                     ๔.  ตรวจบัญชีพระสงฆใหถูกตอง ตรวจเหตุการณซึ่งจะทำความมัวหมองใหแกคณะสงฆ
           ตรวจการปกครองเพื่อใหรูความเจริญและความเสื่อมแหงคณะสงฆ

                     กรมธรรมการ มีหนาที่
                     ๑.  สำรวจจัดทำบัญชีวัด แยกเปนประเภทวัดหลวง วัดราษฎร และวัดรางทั่วราชอาณาจักร
                     ๒.  ควบคุมการตรวจสอบการสรางวัด รวมทั้งการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา
                     ๓.  จัดการทำนุบำรุงวัดและจัดการเกี่ยวกับศาสนสมบัติ
                     เมื่อไดมีการปรับปรุงกระทรวงธรรมการในป พ.ศ. ๒๔๕๔ และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา
           เจาอยูหัว ทรงมีพระราชดำรัสวาหนาที่ของกระทรวงนั้นควรจะมีอยู ๒ อยาง คือ หนาที่จัดการศึกษาใหแกปวงชน
           และดูแลสงเสริมการพระศาสนาเทานั้น การจัดระบบบริหาร และมอบหมายหนาที่การงานก็ควรจะเปนไปตาม
           หนาที่ดังกลาว ดังนั้น ในป พ.ศ. ๒๔๕๙ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดแบงสวนราชการ และหนาที่
           การงานในกระทรวงธรรมการเสียใหม

                     สำหรับการพระอารามตามจังหวัดชั้นนอกในป พ.ศ. ๒๔๖๐ เปนปแรกที่โปรดเกลาฯ ใหจัด
           ขาราชการสวนภูมิภาคของกระทรวงธรรมการเปนเจาหนาที่ฝายการศาสนาสมทบกับการศึกษา และในป
           พ.ศ. ๒๔๖๑ โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนชื่อกรมพระอารามเปนกรมกัลปนา ตอมาป พ.ศ. ๒๔๖๒ พระบาทสมเด็จ
           พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ พระองคไดทรงดำริวา





       14 14
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20