Page 11 - [E-book] วันศาสนูปถัมภ์ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๕
P. 11

วันศาสนูปถัมภ์  พ�ทธศักราช ๒๕๖๕





                             บุรพภาค (สมัยสุโขทัย - พ.ศ. ๒๔๘๔)





                     ในสมัยกรุงศรีอยุธยา จากการคนพบในศิลาจารึกวัดจุฬามณี ทราบวา ในรัชสมัยสมเด็จพระบรม
           ไตรโลกนาถ พระองคทรงสรางพระวิหารวัดจุฬามณี และไดเสด็จออกทรงผนวชอยูที่วัดจุฬามณี ๘ เดือน
           ครั้งทรงลาผนวชแลว มีพระราชโองการใหหมื่นราชสังฆการีรับหมายรับผาพระราชทานให พระครูธรรม
           ไตรโลกนารถราชมุนี สีลวิสุทธาจารย อธิการรามจุฬามณีนำไปทาบรอยพระพุทธบาท
                     ดังจะเห็นไดวา ในสมัยกรุงสุโขทัยและในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีราชบัณฑิตยและหมื่นราชสังฆการี
           ซึ่งสันนิษฐานวาเปนชื่อตำแหนงรับมอบหมายจากพระเจาแผนดินใหรับภารกิจดานการพระศาสนา

                     ในการถวายความอุปถัมภกิจการคณะสงฆก็ดี พระภิกษุสามเณรก็ดี พระมหากษัตริยยอมทรงจัด
           ใหมีเจาหนาที่ฝายคฤหัสถเปนผูดำเนินการแทนพระองค และทรงแตงตั้งใหมียศมีตำแหนงสูงต่ำลดหลั่นกัน
           รวมทั้งใหมีหนวยงานสังกัด ตลอดจนผูบังคับบัญชาหนวยงานที่ดูแลงานดานพระศาสนา คงมีมาตั้งแตสมัยกรุง
           สุโขทัยเปนราชธานีแลว หากแตไมอาจหาหลักฐานไดแนนอน แมในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตนก็เชนกัน
           โดยเฉพาะกอนแผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระมหากษัตริยองคที่ ๘ แหงกรุงศรีอยุธยา
                     ครั้นถึงแผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เรื่องหนวยราชการงานบริหารการพระศาสนา
           จึงไดความเปนเคาขึ้นวา ไดมีการตั้งหนวยงานนี้ในระดับที่พอจะเทียบกับยุครัตนโกสินทรวาเปนหนวยงาน

           ระดับกรมใหญ ซึ่งเจากรมมีศักดินาชั้นเสนาบดี กระทรวง หรือระดับกระทรวงขึ้นแลว ทั้งนี้ โดยอาศัยจาก
           ความในพระธรรมนูญกฎหมายวาดวยตำแหนงศักดินาขาราชการพลเรือนซึ่งเปนกฎหมายที่สมเด็จพระบรม
           ไตรโลกนาถทรงตราขึ้น เพื่อแตงตั้งขุนนาง ขาราชการ ใหมีบรรดาศักดิ์เปนพระยา พระ หลวง ขุน หมื่น และ
           ใหผูมีบรรดาศักดิ์แตละชั้นถือศักดินาชั้นละเทานั้นเทานี้ และในกฎหมายฉบับนั้นก็ระบุใหมีกรมสังกัด มีชื่อกรมตางๆ
           จัดการเรื่องราวตางๆ ขึ้นพรอมกัน หนวยงาน เชน กรมการศาสนาในปจจุบัน ควรจะถือไดวาเริ่มตนมาแตแผนดิน
           สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เปนตนมา และเริ่มตนดวยชื่อ กรมธรรมการ หรือกรมสังฆการี มาแลว
                     เจาหนาที่ฝายคฤหัสถซึ่งชวยปฏิบัติดูแลกิจการของคณะสงฆ สังกัดกรมพระธรรมการ หัวหนากรม
           มีบรรดาศักดิ์เปนพระยาพระเสด็จ หรือออกญาพระเสด็จ ตำแหนงออกญาพระเสด็จเปนตำแหนงสูง
           รับพระบรมราชโองการโดยตรง และบังคับบัญชาราชการอยางสิทธิ์ขาด

                     ในพระธรรมนูญกฎหมายวาดวยตำแหนงศักดินาขาราชการพลเรือนมีวา
                     ออกญาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ศรีสุภราชพิริยพาหุ ถือศักดินา ๑๐,๐๐๐ ไร ขุนธรรมเสนา
           ราชปลัดทูลฉลอง ขุนศรีปรีชานนท ปลัดนั่งศาล
                     กรมธรรมการ มีกรมสังฆการี  เปนกรมขึ้นอีกกรมหนึ่ง มีหลวงธรรมรักษา เปนเจากรม
           ขุนธรรมาธิบดี เปนราชปลัดทูลฉลอง ขุนศรีธรรมลังการ เปนปลัดนั่งศาล
                     การดำเนินการดังกลาวสืบเนื่องมาถึงสมัยตนแหงกรุงรัตนโกสินทร จึงไดมีการมอบหมายภารกิจ
           เกี่ยวกับงานดานการพระศาสนาใหแกหนวยงานที่ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ตั้งขึ้นรับผิดชอบแทนพระองค

           แบงเปน ๓ กรม คือ กรมธรรมการ กรมสังฆการี และกรมราชบัณฑิตย ไดทรงมอบหมายงานที่ใหแตละกรม
           ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ตั้งขึ้นรับภารกิจดานงานการพระศาสนาเปนอยางๆ ไป โดยกรมธรรมการ
           มีหนาที่รับภาระในการพิจารณา พิพากษาคดีที่พระภิกษุสามเณรกระทำกับฆราวาส กรมสังฆการี มีหนาที่
           เปนเจาพนักงานเกี่ยวกับพิธีสงฆทั้งปวง และกรมราชบัณฑิตย มีหนาที่ แปลพระปริยัติธรรม


       10 10
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16