Page 14 - [E-book] วันศาสนูปถัมภ์ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๕
P. 14

¡ÃÁ¡ÒÃÈÒʹÒ





                     สวนตำแหนงอื่นอีก ๓ ตำแหนงนั้น ไดแก
                     ๑.  ปลัดจางวาง ไดแก หลวงธรรมการาจารย
                     ๒.  ผูชวย ไดแก ขุนซุกซนสังฆาธิกรณ (ราชทินนามบรรดาศักดิ์นี้ตอมาเปลี่ยนเปน ขุนพิสนทสังฆกิจ)
                     ๓.  จางวางกรมธรรมการ พระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีศรีศุภราชพิริยพาหะ เปลี่ยนเปน
           (พระธรรมการบดีศรีวิสุทธิศาสนวโรประการ)


           สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓)
                     ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว  ซึ่งเปนรัชสมัยของการปฏิรูป
           การเศรษฐกิจและสังคมครั้งแรกของเมืองไทยที่ปวงชนไดรับผลของการปรับปรุงจากพระบารมีมาจนตราบเทา

           ทุกวันนี้ งานดานพระศาสนาก็ไดรับการปรับปรุงดวย พระองคทรงมุงหวังที่จะเรงรัดปรับปรุงการศึกษาของ
           ประชาชนใหทัดเทียมกับนานาประเทศ โดยจัดตั้งโรงเรียนขึ้นใหแพรหลาย แตรากฐานการศึกษาของไทยนั้น
           มาจากวัดและพระสงฆ เมื่อตองการที่จะปรับปรุงการศึกษาของประชาชน จึงจำเปนตองปรับปรุงงานของ
           คณะสงฆควบคูกันไปจนถึงกับมีกระแสพระราชดำรัสวา
                     “โรงเรียนที่จัดตั้งขึ้น มีกิจเกี่ยวของดวยพระอารามและพระสงฆมากอยู ควรจะไดรวมงานที่
           เกี่ยวของมาอยูในบังคับเดียวกัน”
                     ดังนั้น ในป พ.ศ. ๒๔๓๒ จึงทรงใหรวมกรมหลายกรมที่เกี่ยวกับงานการจัดการศึกษาและงานที่
           เกี่ยวกับพระศาสนามาอยูกรมเดียวกัน ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเรียกชื่อวา กรมธรรมการ (มีฐานะเทา
           กระทรวงแตสมัยนั้นเรียกวา กรม) ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ มอบหมายอำนาจหนาที่ใหกรมธรรมการ ดังนี้

                     เปนพนักงานที่จะบังคับบัญชาเกี่ยวของในพระสงฆ ตำแหนงที่พระยาพระเสด็จ และเปน
           ผูบังคับการโรงเรียนและโรงพยาบาลทั่วราชอาณาเขต
                     กรมสังฆการีธรรมการยายมาอยูในสังกัดกรมธรรมการโดยกลับชื่อเสียใหมวา กรมธรรมการสังฆการี
                     หนาที่ของกรมธรรมการสังฆการีที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ มอบหมายใหปฏิบัติ  ดังนี้
                     ๑.  พนักงานบัญชีพระสงฆ มีหนาที่สำรวจทำบัญชีพระภิกษุ สามเณร ทั่วราชอาณาจักร
                     ๒.  พนักงานการพระอาราม มีหนาที่เกี่ยวกับการสราง ซอมแซมบูรณะ และกิจการที่เกี่ยวของกับวัด
                     ๓.  พนักงานจัดผลประโยชนพระอาราม มีหนาที่จัดการศาสนสมบัติของวัด และ ของการพระศาสนา

                     ๔.  ตุลาการศาลพระธรรมการ มีหนาที่พิจารณาคดีเกี่ยวของกับพระภิกษุ สามเณร
                     ๕.  พนักงานการพระราชพิธี มีหนาที่เกี่ยวกับพระราชพิธีและพิธีตางๆ ที่พระสงฆเกี่ยวของอยูดวย
                     ตอมากรมธรรมการไดรับการปรับปรุงระบบการบริหารงานอีกครั้ง หลังจากที่ไดปรับปรุงมาแลว
           เมื่อป พ.ศ. ๒๔๓๒ ไมนานนัก ทั้งนี้เพราะ
                     ๑.  พระเจานองยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ (พระยศขณะนั้น) ไดเสด็จกลับจากการดูงาน
           การศึกษาในภาคพื้นยุโรปปลายป พ.ศ. ๒๔๓๔ ไดทรงถวายความเห็นในการปรับปรุงการศึกษาสำหรับ
           ประชาชนไวหลายประการ และทรงเห็นวาหากไดปรับปรุงระบบการบริหารของกรมธรรมการใหดียิ่งขึ้นแลว
           การจัดการศึกษาสำหรับประชาชนก็จะบรรลุผลตามความเห็นของกรมหมื่นดำรงราชานุภาพ
                     ๒.  ภาระหนาที่ของกรมธรรมการมีมากขึ้นจำตองขยายและปรับปรุงระบบบริหารใหสามารถรับ

           ภาระไดเต็มที่ พรอมทั้งเปนการเตรียมโครงสรางงานไวเพื่อการขยายในอนาคตดวย





                                                                                                  13
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19