Page 17 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 17

ชาวไทยมุสลิมเชื้อสายเขมร (กัมพูชา)

                                                       ตอนที่ ๖














                                                                                                 เรียบเรียงโดย สมัย เจริญชาง
                                                                          ที่ปรึกษา สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำกรุงเทพมหานคร
                                                                              ศูนยบริหารกิจการศาสนาอิสลามแหงชาติ เฉลิมพระเกียรติ



                     ชาวไทยมุสลิมในประเทศไทย นอกจากมีเชื้อสายมาจากเปอรเซีย ทั้งที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี (สุหนี่) และชีอะฮ
              และเชื้อสายมลายูแลวยังมีอีกสวนหนึ่งที่เปนชาวมุสลิมที่บรรพบุรุษไดเขามาจากเขมร หรือกัมพูชา หรือ “เมืองจำปา” ในรัชสมัย
              พระบาทสมเด็จพระนารายณมหาราช มีมุสลิมชาว “จำปา” หรือ “จาม” จากเขมรอพยพเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร

              โดยพระมหากษัตริยไทยไดโปรดเกลาฯ พระราชทานที่ดินใหตั้งบานเรือน ทำไรทำนา ชาวมุสลิมจามเหลานี้ประกอบอาชีพทำนา
              และประมงน้ำจืดอยูในกรุงศรีอยุธยา และมีหลักฐานอยูในกฎหมายแผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถระบุวามีแขกจามเรียกวา
              “อาสาจาม” หรือกองกำลังอาสาจาม เปนกองกำลังทหารอาสาชวยรบกับอริราชศัตรูของประเทศไทยมาตั้งแตสมัยนั้น รองรอย

              ของกลุมลูกหลานแขกจาม ปจจุบันตั้งถิ่นฐานอยูที่คลอง “คูจาม” หรือ “คลองปะจาม” อยุธยา มีมัสยิดอยู ๓ แหงคือ
              มัสยิดอะหมะดียะตุสซอลิฮาต มัสยิดกลางซาฟอีและมัสยิดอิสลามพัฒนา

                     กองอาสาจามเปนชาวจำปา หรือเขมรที่นับถือศาสนาอิสลาม ไดรับใชแผนดินไทยตลอดกรุงศรีอยุธยา ตอมาในยุคกรุงธนบุรี
              เปนราชธานีกองอาสาจามที่รอดตายจากสงครามเสียกรุงครั้งที่ ๒ ในป พ.ศ. ๒๓๑๐ ไดถวายตัวเขารับราชการกับพระเจากรุงธนบุรี

              จำนวนหนึ่ง และไดเขารวมในกองทัพหนาของเจาพระยาจักรี (หมุด) ซึ่งการยกกองทัพไปครั้งนั้น ราว พ.ศ. ๒๓๑๔ มีเจาพระยา
              มหากษัตริยศึก (ยศในขณะนั้นตอมาไดขึ้นครองราชยเปนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑
              แหงกรุงรัตนโกสินทร) เปนแมทัพหลวง กรีฑาทัพไปตีเมืองเขมรพรอมดวยพระยายมราช (แบน) ซึ่งตอมาไดรับพระราชทานยศ

              จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ เปน “เจาพระยาอภัยภูเบศรวิเศษสงครามรามนรินทรอินทบดีฯ”
              ซึ่งเปนตนตระกูล “อภัยวงศ” ในเวลาตอมา

                     ประวัติศาสตรไดบันทึกไววา เหตุที่พระเจาตากสินมหาราชแหงกรุงธนบุรีไดโปรดใหเจาพระยามหากษัตริยศึก (รัชกาลที่ ๑)
              ยกทัพหลวงไปตีเมืองเขมรนั้น ก็เนื่องจากในเมืองเขมรสมัยนั้น เจานายเขมรไดลอบฆากันเอง จนอาณาจักรเขมรลุกเปนไฟและ

              ออนแอลงมาก และตอมาเขมรไดถูกญวนรุกราน ไทยไดทราบขาวจึงสงกองทัพไปชวยปองกันแผนดินเขมรไวไมใหเสียเอกราช
              แกญวน การเดินทัพไปครั้งนั้นพระยายมราช (แบน) หรือพระยาอภัยภูเบศรฯ เปนผูชำนาญการศึกสงครามในดานเขมรเปนอยางยิ่ง

              ในระหวางทำศึกสงครามในเขมรอยูนั้นทางกรุงธนบุรีไดเกิดเหตุการณรุนแรงโดยพระยาสรรคฯ เปนขบถจับพระเจาตากสินมหาราช
              โดยเห็นวาพระองคมีพระจริตวิปริตไป เมื่อขาวนี้ไปถึงเมืองเขมร สมเด็จพระยามหากษัตริยศึก จึงเสด็จยกทัพกลับกรุงธนบุรี
              และมอบใหพระยายมราช (แบน) คุมสวนหนึ่งของกองทัพรักษากรุงกัมพูชา ในขณะที่กองทัพหลวงเดินทางกลับประเทศไทยนั้น

              ไดกวาดตอนชาวเขมร ครอบครัวจาม (มุสลิม) จำนวนหนึ่งเขามาดวย



              จากวารสารมุสลิมกทม.NEWS เลมที่ ๖๗ เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๖๕

                                                                ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖ ๑๗
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22