Page 33 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๔ (เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๖)
P. 33

นับตั้งแตวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๔ เปนตนมา
 สาระสําคัญของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
 พิจารณาในการจัดตั้งวัดบาทหลวงโรมันคาทอลิก พ.ศ. ๒๕๖๔
 พ.ศ. ๒๕๖๔ กลาวถึงเฉพาะหลักเกณฑการพิจารณาขอจัดตั้ง
 มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการกําหนดแนวทางพิจารณาในการ
 วัดคาทอลิก แตศาสนสถานอันหมายถึงสถานที่รวบรวม
 จัดตั้งวัดบาทหลวงโรมันคาทอลิคตามพระราชบัญญัติวาดวย
 ความเชื่อศรัทธาของศาสนิกชน และใชประกอบศาสนกิจหรือ
 ลักษณ ฐานะของวัดบาดหลวงโรมันคาธอลิกในกรุงสยาม
 พิธีกรรมในศาสนาคริสต นิกายโรมันคาทอลิก ยังมีอีก
 ตามกฎหมายใหเปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ
 หลายประเภท บทความนี้จึงขอเสนอประเภทของศาสนสถาน
 เกิดประโยชนตอคริสตศาสนิกชน โดยใหคํานิยาม “วัดคาทอลิก”
 ในศาสนาคริสต นิกายโรมันคาทอลิก จําแนกตามวัตถุประสงค
 หมายความวา วัดบาทหลวงโรมันคาทอลิกตามกฎหมายวาดวย
 ในการประกอบศาสนกิจ ลักษณะทางสถาปตยกรรมและ
 ลักษณ ฐานะของวัดบาทหลวงโรมันคาธอลิกในกรุงสยาม
 องคประกอบของสิ่งปลูกสราง โดยมีรายละเอียดดังนี้
 ตามกฎหมายและกําหนดใหมีคณะกรรมการพิจารณา
 ๑. วัด (Church) เปนสถานที่สําหรับประกอบ

 กลั่นกรองคําขอจัดตั้งวัดคาทอลิก ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการ
 ศาสนพิธี เพื่อประโยชนของคริสตชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะ
 กระทรวงวัฒนธรรมเปนประธาน กรรมการโดยตําแหนง ไดแก
 อยางยิ่งสําหรับคริสตชนในทองที่ตามที่มีการกําหนดขึ้นมา
 ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ผูแทนกระทรวงการตางประเทศ
 ในภาษาอังกฤษใชคําวา “Parishchurch” การกอตั้งตองไดรับ
 ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผูแทนสํานักงานสภาความมั่นคง
 อนุญาตจากบิชอป (ตําแหนงของผูปกครองมิซซัง ซึ่งเปน
 แหงชาติ ผูแทนสํานักขาวกรองแหงชาติ และผูแทนกรมที่ดิน
 เขตพื้นที่การปกครองของศาสนาคริสต นิกายโรมันคาทอลิก)
 กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินสามคน และอธิบดี
 เปนลายลักษณอักษรกอนจึงสามารถกอตั้งได เนื่องจากเกี่ยวของ
 กรมการศาสนาเปนกรรมการและเลขานุการ เพื่อทําหนาที่
 กับการกําหนดเขตพื้นที่ เมื่อกอสรางวัดแลวเสร็จจะประกอบ
 เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรมพิจารณา
 พิธีเสกและใหชื่อ (Title) ซึ่งจะไมมีการเปลี่ยนอีกตอไป
 เสนอคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหจัดตั้งวัดคาทอลิก
 จนกวาจะสูญเสียสถานะหรือถูกทําใหเสียหายจนไมอาจ
 โดยมีกรมการศาสนาทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการ
 บูรณะหรือซอมแซมได หรือไดรับอนุญาตใหเปลี่ยนไปใช
 คณะกรรมการรับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการ และ
 ทําประโยชนอยางอื่น วัดเปนสถานที่ชุมนุมของคริสตชน
 ประสานงานกับหนวยงานของรัฐ  ภาคเอกชน  และ
 เพื่อภาวนานมัสการสรรเสริญพระเจาและรับพระพร
 ภาคประชาชน ทั้งนี้ ระเบียบดังกลาวไดกําหนดหลักเกณฑ
 แหงพระเจาประกอบพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์  ซึ่งเปน
 การพิจารณาจัดตั้งวัดคาทอลิก อาทิ สถานที่ขอจัดตั้งวัดคาทอลิก
 เครื่องหมายที่พระเยซูคริสตเจาทรงตั้งขึ้นเพื่อประทาน
 เปนสถานที่ที่สมควรเปนที่พํานักของบาทหลวงและเพื่อประกอบ
 พระพรแกมนุษย ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่สําคัญไดแก ศีลมหาสนิท
 ศาสนกิจเปนประจําอยางสมํ่าเสมอมีบาทหลวงพํานักอยู
 หรือพิธีระลึกถึงงานเลี้ยงอาหารคํ่าครั้งสุดทายของพระเยซู
 ที่วัดคาทอลิกเปนประจํา เปนประโยชนแกประชาชนในทองถิ่น
 คริสตเจา ซึ่งปจจุบันเรียกวา “พิธีบูชาขอบพระคุณ” หรือ
 และมีเหตุผลที่จะสนับสนุนไดวาเมื่อตั้งวัดคาทอลิกแลว
 พิธีมิสซา และศีลลางบาป ศีลกําลัง ศีลอภัยบาป ศีลเจิมคนปวย
 จะไดรับการทํานุบํารุงสงเสริมอุปถัมภจากประชาชนในพื้นที่
 ศีลสมรส และศีลบรรพชา
 เปนตน
     ไดมีการประกาศใชระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยแนวทาง    แนวทางพิจารณาในการจัดตั้งวัดบาทหลวงโรมันคาทอลิก     ๕. สักการสถาน (Shrine) เปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
 ๓. วัดประจําสถาบัน (Oratory) เปนวัดประจําโรงเรียน วัดประจําบานนักบวชตาง ๆ เปนสถานศักดิ์สิทธิ์สําหรับ
 ประกอบศาสนพิธี เพื่อประโยชนของกลุมคริสตชนบางกลุม โดยตองไดรับอนุญาตจากบิชอปผูปกครองจึงจัดตั้งได หากจะเปลี่ยน  ซึ่งบิชอปผูปกครองมิซซัง อนุญาตใหใชเปนสถานที่สําหรับ
 ไปใชทําประโยชนอยางอื่น ๆ ไดก็ตองไดรับอนุญาตจากบิชอปเชนกัน ทั้งนี้ กอนใชประกอบพิธีจะมีการเสกตามจารีตที่กําหนดไว  ใหคริสตชนไปแสวงบุญ อันเนื่องมาจากเหตุผลทางความศรัทธา
 ในหนังสือพิธีกรรม วัดประจําสถาบันสามารถประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ไดนอกจากที่มีกฎของจารีตพิธีกรรม หรือกฎหมาย  พิเศษ มี ๓ ระดับ คือ
 หรือคําสั่งของบิชอปหามไวคริสตชนอื่น ๆ จะรวมประกอบพิธีในวัดประจําสถาบัน (Oratory) ไดถาผูใหญของสถาบันนั้นยินยอม     ระดับเขตศาสนปกครอง (Diocesan Shrine)
           ซึ่งอยูภายใตอํานาจของบิชอปผูปกครอง เชน สักการสถาน
           บุญราศี คุณพอนิโคลัส บุญเกิด กฤษบํารุง อ.สามพราน
           จ.นครปฐม
                                                                                      ที่มารูปภาพ
                                                                   https://tatapi.tourismthailand.org/tatfs/Image/CustomPOI/Picture/P03014237_1.jpeg
                  ระดับชาติ (National Shrine) ซึ่งอยูภายใตอํานาจของสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแหงประเทศไทยไดแก
            สักการสถาน พระมารดาแหงมรณสักขี บานสองคอน อ.หวานใหญ จ.มุกดาหาร
    ๔. วัดนอย (Private chapel) เปนสถานที่กําหนดไว
 สําหรับประกอบศาสนพิธีเพื่อประโยชนของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
 ซึ่งตองไดรับอนุญาตจากบิชอปผูปกครองจึงจัดตั้งได และ
 มีการเสกตามจารีตที่กําหนดไวในหนังสือพิธีกรรม และ
 เมื่อเสกแลวตองไมใชเพื่อการอื่นนอกจากศาสนพิธี บิชอป
 แตละทานสามารถมีวัดนอยเปนของตนเองได แตหากจะให
 วัดนอยเปนประโยชนสําหรับคริสตชนอื่นดวยตองไดรับ
 อนุญาตจากบิชอปผูปกครองกอน                                             ระดับนานาชาติ (International Shrine) ซึ่งอยู
                                                                  ภายใตอํานาจของสันตะสํานัก (The Holy See) ระเบียบ
                                                                  กฎเกณฑเกี่ยวกับสักการสถานจะระบุจุดมุงหมาย อํานาจ
                                                                  หนาที่ของผูปกครองดูแล กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน และ
                                                                  การบริหารทรัพยสิน และสักการสถานเหลานี้มักจะไดรับ
                                                                  สิทธิพิเศษบางประการที่จะบังเกิดผลดีตอสัตบุรุษ เชน
                                                                  มหาวิหารอัสสัมชัญแหงพระแมมารีย ณ ประเทศลัตเวีย
                                                                  (Aglona Basilica of the Assumption in Latvia)


                                ที่มารูปภาพ
              https://www.pilgrim-info.com/wp-content/uploads/2018/03/Aglona-Basilica-04.jpg




 ๓๒  วารสารสายตรงศาสนา                                      ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำเดือนเมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๖ ๓๓
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38