Page 27 - คู่มือการขับเคลื่อน แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔)
P. 27
Department Of Religious Affairs
กระบวนการสร้างชุมชน องค์กร/หน่วยงานคุณธรรม:
ผลสัมฤทธิ์ของแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔)
การสร้างชุมชนคุณธรรม การสร้างองค์กร/หน่วยงานคุณธรรม
๑. การสร้างการรับรู้ให้กับทุกภาคส่วนในชุมชน ๑. การสร้างการรับรู้ให้กับทุกภาคส่วนทั้งภายในและนอกองค์กร
๒. การจัดกิจกรรมตามข้อปฏิบัติหลักของชุมชนคุณธรรม ๓ ประการ ๒. การจัดกิจกรรมตามข้อปฏิบัติหลักขององค์กรคุณธรรม ๓ ด้าน
l ศรัทธายึดมั่นในศาสนา l ด้านศาสนา
- ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ - ผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม
- ยึดมั่นในคุณธรรม มีธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กร
- ผู้บริหารและคนในองค์กรยึดมั่นในศาสนา
l น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ - ผู้บริหารมีส่วนร่วมส่งเสริมชุมชนคุณธรรม
- พอประมาณ
- มีเหตุผล l ด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
- มีภูมิคุ้มกัน - มีนโยบายและกิจกรรมส่งเสริมความพอเพียง
- มีความรู้และคุณธรรม มีวินัย สุจริต จิตอาสา
- มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
l รักษาสืบสานวิถีวัฒนธรรมอันดีงาม
- มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัด อดออม
- ดำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย
- สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี l ด้านการรักษาสืบสานวิถีวัฒนธรรมอันดีงาม
- รักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ร่วมกับชุมชนฟื้นฟู อนุรักษ์ความเป็นไทย
๓. การนำทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างอาชีพและรายได้ - สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี
- สร้างวัฒนธรรมองค์กรยึดหลักคุณธรรมเพื่อการ
๔. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชนในทางที่ดีขึ้น ๓ ด้าน พัฒนาที่ยั่งยืน
- ด้านศาสนา ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข ๓. การนำทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ชุมชน
- ด้านการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง พึ่งพาตนเองได้
- ด้านการรักษาสืบสานวิถีวัฒนธรรม มีน้ำใจ ๔. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรในองค์การในทางที่ดีขึ้น
เอื้ออาทร
๕. การพัฒนาให้เป็นองค์กรคุณธรรม เป็นแหล่งแลกเปลี่ยน
๕. การพัฒนาให้เป็นชุมชนคุณธรรมต้นแบบเป็นแหล่ง เรียนรู้กับองค์กรอื่น
เรียนรู้ของชุมชนอื่น