Page 44 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ (กุมภาพันธ์ - มีนาคม ๒๕๖๖)
P. 44

พญานาคกับศาสนสถาน                                     การศึกษาเกี่ยวกับศาสนาหรือประเพณีพิธีกรรม
                                                                   อยางใดอยางหนึ่ง ยอมไมอาจละเลยที่จะทำความเขาใจ
                    เรื่องราวของอาณาจักรโคตรบูรณปรากฏอยูใน       ในเรื่องความเชื่อได เพราะหากรูจักพื้นฐานความเชื่อของ
             “ตํานานอุรังคธาตุ” ที่กลาวถึง ความเปนมาของชุมชน     ทองถิ่นใด ๆ แลวการจะทําความเขาใจเกี่ยวกับประเพณี

             ในอาณาจักร และประวัติการสรางพระธาตุพนม อาณาจักร      พิธีกรรมของทองถิ่นนั้นยอมทําไดมากขึ้น บทความฉบับนี้
             โคตรบูรณ ไดรับอิทธิพลจากอินเดียมีการปกครอง โดยกษัตริย  ขอยกตัวอยาง “ตามรอยพญานาค ๑๘ สถานที่” ถือเปน
             นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ตามแบบทวารวดี           “ศาสนสถาน” ที่เปน “Soft Power” เพื่อเปดตำนานพญานาค

             และมีความเชื่อพื้นเมืองเรื่องการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ  ดังนี้ (๑) คำชะโนด อำเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี (๒) วัด
             การบูชาพญานาค ศาสนสถานที่สําคัญของอาณาจักร คือ        ภูตะเภาทอง จังหวัดอุดรธานี (๓) วัดถ้ำศรีมงคล หรือถ้ำดินเพียง

             พระธาตุพนม ศาสนวัตถุเปนวัตถุที่เกี่ยวเนื่องทางศาสนา  ตำบลผาตั้ง จังหวัดหนองคาย (๔) ถ้ำพญานาค หรือ ถ้ำเมือง
             สวนใหญจะเปนสิ่งที่เคารพบูชา เชน พระพุทธรูป เจดีย  บาดาลจำลอง วัดไทย อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย
             พญานาคไดเขามามีสวนเกี่ยวของกับ ศาสนวัตถุทาง       (๕) พญาศรีสัตตนาคราช จังหวัดนครพนม  (๖) วัดปาคลอง ๑๑

             พระพุทธศาสนามาตั้งแตสมัยพุทธกาล ซึ่งจะเห็นไดจากที่มี  จังหวัดปทุมธานี หรือ วัดคำชะโนด ๒ (๗) อุทยานพญานาค
             รูปปนพญานาค เปนสวนประกอบที่สําคัญทางสถาปตยกรรม   หรือ พุทธอุทยานหลวงปูสด วังพญานาค ๔ ตระกูล อำเภอ
             โดยเฉพาะตามโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ วัดตาง ๆ        กบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (๘) วัดภูมโนรมย หรือ วัดรอย

             หลังคาอาคารที่สรางขึ้นสําหรับสถาบันพระมหากษัตริย และ  พระพุทธบาทภูมโนรมย ตั้งอยูในเขตพื้นที่ของอุทยานแหงชาติ
             สถาบันทางพระพุทธศาสนา ศาสนวัตถุ ตามคตินิยมที่วา      มุกดาหาร (๙) ถ้ำนาคา จังหวัดบึงกาฬ (๑๐) วัดธรรมยาน
             นาคยิ่งใหญคูควรกับสถาบันอันสูงสง เชน นาคสะดุง ที่  จังหวัดเพชรบูรณ (๑๑) วัดถ้ำผาแดน จังหวัดสกลนคร

             ทอดลำตัวยาว ตามบันได นาคลำยองซึ่ง เปนบานลมหลังคา    (๑๒) วัดพระธาตุหนองบัว จังหวัดอุบลราชธานี (๑๓)
             โบสถ ที่ตอเชื่อมกับนาคกับสถาปตยกรรมสะดุง นาคเทือน  ถ้ำนาคาธิบดี (วัดปาศรีมงคลรัตนาราม) จังหวัดศรีสะเกษ

             นาคจำลอง และนาคทันต คันทวยรูปพญานาค นาคสะดุง        (๑๔) วัดหลวงพี่แซม จังหวัดชลบุรี (๑๕) วัดมณีวงศ จังหวัด
             ซึ่งเปนศิลปกรรม ที่ราวบันไดโบสถนั้นไดสรางขึ้นตาม  นครนายก (๑๖) ถ้ำหลวง ขุนน้ำนางนอน ตั้งอยูในเขตปา
             ความเชื่อ บันไดนาคก็ดวยความเชื่อดังกลาว แมตอนที่   สงวนแหงชาติปาดอยนางนอน จังหวัดเชียงราย (๑๗) แกงอาฮง

             พระพุทธเจาเสด็จลงจากสวรรคชั้นดาวดึงส เสด็จโดยบันได  เปนจุดที่ลึกที่สุดของแมน้ำโขง ประมาณ ๒๐๐ เมตร ซึ่งตั้งอยู
             แกวมณีสีรุงที่เทวดาเนรมิตขึ้นและมีพญานาค จำนวน ๒ ตน  ที่จังหวัดบึงกาฬ เรียกวา สะดือแมน้ำโขง (๑๘) วัดแกว

             เอาหลังหนุนบันไดไว
                                                                   จักรพรรดิสิริสุทธาวาส ตั้งอยูอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน
                                                                          ศาสนสถานเปนสถานที่สำคัญแสดงถึงลัทธิความเชื่อ
                                                                   ความศรัทธาของมนุษยที่มีตอศาสนา ซึ่งการทองเที่ยว

                                                                   เชิงวัฒนธรรมในดานความเชื่อและความศรัทธาเรื่อง
                                                                   “พญานาค” เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ศิลปวัฒนธรรมประวัติศาสตร
                                                                   โบราณสถาน และประเพณี แสดงใหเห็นวาประเทศไทย

                                                                   สามารถขับเคลื่อนสังคมและเศรษฐกิจ ดวยวัฒนธรรม
                                                                   ไดอยางยั่งยืน โดยขอเสนอเรื่อง “นาค : ตำนานและความเชื่อ

                                                                   ในคติศาสนา” เปนบทกวี ดังนี้

                    https://www.thairath.co.th/news/society/2523590










              ๔๔  วารสารสายตรงศาสนา
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49