Page 43 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ (กุมภาพันธ์ - มีนาคม ๒๕๖๖)
P. 43

เสนทางแหงศรัทธา

                                                      นาค ตอนที่ ๒






                                                                                          เรียบเรียงโดย นางสาวกัญญา แกวคำฟุน
                                                                            นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ สำนักงานเลขานุการกรม





                     ในคัมภีรทางพระพุทธศาสนาไดกลาวถึงนาควา

              มีบทบาทสําคัญในลักษณะของการเปนผูอุปถัมภค้ำชูบํารุง
              พระพุทธศาสนาแมจะมีนาคบางตนที่เปนมิจฉาทิฏฐิ
              เคยลวงเกินทําราย พระพุทธเจาและพระอรหันตสาวก

              แตทายที่สุดก็กลับมานับถือและชวยบํารุงรักษาพระพุทธศาสนา

                บทบาทของนาคที่มีความสําคัญตอพระพุทธศาสนา                   https://www.thairath.co.th/news/society/2523590


                     ๑. บทบาทในการปกปองพระรัตนตรัย ไดแก กรณี            ๔. บทบาทในการรักษาศีลและปกปองผูปฏิบัติธรรม
              ของมุจจลินทนาคราช ที่ออกมาจากนาคพิภพเพื่อมาปองกัน    ไดแก จัมเปยยนาคราช และสังขปาลนาคราชผูหลีกหนี

              ภัยอันเกิดจากฝนและลมหนาว ในคราวที่องคสมเด็จ          กามคุณอันวุนวายในนาคพิภพมาปฏิบัติธรรมอยูบนโลกมนุษย
              พระสัมมาสัมพุทธเจาเสวยวิมุตติสุข หลังจากตรัสรูแลว  เอรกปตตนาคราช แสดงใหเห็นถึงกรรมอันเกิดจากความผิด
                     ๒. บทบาทในการสรางศรัทธาและบําเพ็ญบารมี        แมเพียงเล็กนอย รวมไปถึงนาคที่ใหการอุปถัมภผูปฏิบัติธรรม

              ไดแก นาคผูเปนเหตุใหผูคนที่ไมมี ความเลื่อมใสใน  เชน นาคที่บอน้ำเกาแก ในชรูทปานชาดก และนาคผูรักษา
              พระพุทธศาสนาหันกลับมาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เชน      ตนไทร ในมหาวาณิชชาดก สวนนันโทปนันทนาคราชผูเปน
              นาคในเรือนไฟของชฏิล ๓ พี่นอง ผูทําใหพระมหากัสสปะ    มิจฉาทิฏฐิ ก็ไดรับการปราบใหละพยศกอนที่จะไปทําราย

              เปลี่ยนใจมาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา นาคผูประกาศตนวา   ผูคน
              มีความศรัทธาตอพระพุทธศาสนา เชน นาคผูปลอมเปน              บทบาทของนาคในคัมภีรทางพระพุทธศาสนา ทั้งที่

              มนุษยมาบวช นาคผูเปนเหตุใหภิกษุทั้งหลายควรรูจัก   ปรากฏในพระไตรปฎก คัมภีรอรรถกถา คัมภีรชาดก กลาวถึง
              ประมาณในการขอในมณีกัณฐนาคราช นอกจากนี้นาคที่ปรากฏ     นาคในบทบาทที่แตกตางกัน ในชาดกจะกลาวถึงการบําเพ็ญ
              ในชาดกตาง ๆ ก็ลวนแลวแตเปนตัวอยางในการบําเพ็ญ    บารมีของนาคและบุคคลผูซึ่งนาคใหการอุปถัมภเปนหลัก

              บารมี เชน คังเคยยนาคราชผูเปนสาเหตุใหดาบสไดมีโอกาส  สวนในคัมภีรอรรถกถาและพระไตรปฎก จะกลาวถึงนาคใน
              บําเพ็ญเมตตาบารมี จูฬทัททรนาคราชผูบําเพ็ญขันติบารมี  บทบาทของผูที่คอยทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล

              นาคผูทําใหน้ำเดือดผูเปนเหตุใหพระโพธิสัตวครั้งเสวย  รวมถึงนาคที่เปนมิจฉาทิฏฐิซึ่งตองอาศัยการทรมานเพื่อให
              พระชาติ เปนนกไดบําเพ็ญปญญาบารมี                    เกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา และนํามาซึ่งความศรัทธา
                     ๓. บทบาทในการเปนมูลเหตุใหมีการบัญญัติ        ของผูคนจากการทําใหนาคนั้นเลิกทํารายผูอื่น ดังนั้นบทบาทหลัก

              สิกขาบท ไดแก นาคกัญญาผูเสพเมถุนธรรมกับภิกษุ        ของนาคจึงมี ๒ ประการ คือ ประการที่ ๑ คอยทํานุบํารุง
              ซึ่งเปนที่มาของอนุบัญญัติสิกขาบทที่ ๑ หามภิกษุเสพเมถุนธรรม  พระพุทธศาสนา โดยการอุปถัมภค้ำชูพระพุทธเจา และ
              แมกับสัตวเดรัจฉาน สุปสสนาคราช ผูที่ทูลขอหามภิกษุ  พระสาวก และประการที่ ๒ ชวยทําใหผูคนที่นับถือนาค

              บริโภคเนื้องู นาคที่ทาน้ำอัมพติตถะ ผูเปนเหตุใหทรงบัญญัติ  คลายความยึดติดในความเชื่อดั้งเดิม และหันมา ศรัทธาสัจธรรม
              สิกขาบทหามพระภิกษุดื่มสุรา                           ที่แทจริง ซึ่งพระพุทธศาสนาเปนสิ่งที่ตอบสนองความเชื่อนั้นได



                                                              ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือนกุมภาพันธ - มีนาคม ๒๕๖๖๖ ๔๓
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48