Page 40 - ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๖๖
P. 40

รางวัลเสาเสมาธรรมจักร
                                                                                        ๒๕๖๖



                             การพิจารณาจะคํานึงถึง
                             (๑)  ลักษณะการดําเนินงาน ความตอเนื่อง รูปแบบของกิจกรรมและกลุมเปาหมายที่ชัดเจน
                             (๒)  คุณภาพและปริมาณของผลงาน ระยะเวลา งบประมาณที่ใช
                             (๓)  ประโยชนที่เกิดจากการดําเนินงานหรือคาดหวังวาจะไดรับ ทั้งตอสถาบันพระพุทธศาสนา
                  และสังคม
                             (๔)  เปนการดําเนินงานในประเทศไทยเทานั้น
                         ๓.๒ สาขาการเผยแผพระพุทธศาสนาในตางประเทศ
                             เปนบทบาทของพระสงฆหรือคฤหัสถ ผูทําหนาที่เผยแผพระพุทธศาสนาในตางประเทศ
                  มีวัด/สํานักสงฆ/ที่พํานักเปนหลักแหลงเปนที่ดําเนินการแนนอน มิใชเปนการเดินทางไปรับกิจนิมนต
                  หรือทัศนศึกษาเพียงชั่วครั้งชั่วคราว แตเปนการปฏิบัติศาสนกิจอยูประจํา หรือเปนคนของประเทศนั้น ๆ
                  มีระยะเวลาติดตอกัน ไมควรจะนอยกวา ๕ ป มีผลงานเปนที่ปรากฏ มีศีลาจารวัตรเปนที่เคารพเลื่อมใส
                  ทั้งในหมูชาวไทยและชาวตางประเทศในประเทศนั้น ๆ
                             การพิจารณาจะคํานึงถึง
                             (๑)  มีกิจกรรมการเผยแพรของวัด/สํานักสงฆหรือบุคคลในประเทศนั้น ๆ มีการแสดงธรรม
                  บรรยายธรรม สอนปฏิบัติสมาธิ ทั้งภายในวัดและนอกวัด ตลอดจนการบรรยายวิชาการทางพระพุทธศาสนา
                  แกสถาบันการศึกษาและองคการตาง ๆ
                             (๒)  มีการจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อเผยแพรประเพณีและวัฒนธรรมไทย ทั้งภายในวัดและนอกวัด
                  เชน การจัดประเพณีเทศกาลตาง ๆ การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาและภาษาไทย ตลอดจน
                  ขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น ๆ มีมารยาทไทย เปนตน
                             (๓)  เปนที่พึ่งทางใจแกกลุมคนไทยในตางประเทศ เปนที่ปรึกษาหลักธรรมแกชาวตางประเทศ
                  ที่สนใจ
                             (๔)  มีการทําวัตรสวดมนต มีศีลาจารวัตรอันดีงาม เปนแบบอยางพระสงฆไทยในตางประเทศ
                             (๕)  มีคุณภาพและปริมาณงานเปนที่นาอนุโมทนา


                  ๔. ประเภทสงเสริมการปฏิบัติธรรม
                         การปฏิบัติธรรม หมายถึง การแสดงบทบาทของวัด หรือพระสงฆ หรือคฤหัสถที่สงเสริมในการปฏิบัติธรรม
                  ของประชาชนอยางเปนกลุม เปนคณะ มีระยะเวลาและจํานวนผูปฏิบัติชัดเจน และเปนกิจจะลักษณะ
                  โดยเฉพาะมุงถึงสํานักปฏิบัติธรรมทั้งสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน มิไดหมายถึง การเทศนาหรือ
                  บรรยายธรรมตามปกติของพระสงฆหรือคฤหัสถโดยทั่วไป โดยมีผลงานเปนที่ปรากฏชัดเจน ๕ ป
                           การพิจารณาจะคํานึงถึง
                           (๑)  กิจกรรมการดําเนินงานของศูนยหรือสํานักปฏิบัติธรรมนั้น ๆ รูปแบบและระบบในการ
                  จัดกิจกรรม ระยะเวลา และความตอเนื่อง
                           (๒)  ปจจัยที่เอื้อตอการปฏิบัติธรรมอันเปนสัปปายะอื่น ๆ เชน อาคารสถานที่อาณาบริเวณที่รมรื่น
                  เงียบสงบ
                           (๓)  คุณภาพและปริมาณของผูดําเนินการริเริ่ม ผูเขารวมปฏิบัติธรรม ผลประโยชนที่สังคมและ
                  พระพุทธศาสนาไดรับ
                           (๔)  งบประมาณที่ใชดําเนินงาน





                                                                                                 9
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45