Page 39 - ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๖๖
P. 39

รางวัลเสาเสมาธรรมจักร
             ๒๕๖๖



            ๒. ประเภทการศึกษาสงเคราะห มี ๒ สาขา
                    ๒.๑ สาขาการศึกษาศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย
                       การศึกษาศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย หมายถึง การจัดการศึกษาเพื่อสงเคราะห
            บุตรหลานของประชาชนใหมีความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนา อันจะนําไปสูการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม
            ในสังคม
                      การพิจารณาจะคํานึงถึง
                       (๑) การสนับสนุนการศึกษา มีความพรอมในดานการดําเนินงานอาคารสถานที่ อุปกรณ
            การเรียนการสอน ทุนอุปถัมภในการดําเนินงาน มีระบบการบริหารที่ชัดเจน จริงจังและจริงใจในการฝกอบรม
                       (๒) คุณภาพในการจัดการศึกษา มีทั้งหลักสูตรและกิจกรรมชวยเหลือสังคม การบําเพ็ญ
            ประโยชนและแบบอยางที่ดีในการดําเนินชีวิตของเยาวชน
                       (๓) ปริมาณของผูสอนและผูเรียน มีจํานวนเพิ่มขึ้นแตละป จํานวนผูสมัครเลาเรียนและ
            ยอดผูจบการศึกษาในแตละชั้นมีความสมดุลกัน
                    ๒.๒ สาขาการศึกษาศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑในวัด
                       การศึกษาศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑ หมายถึง การจัดการศึกษาแกเด็กในระดับอนุบาล
            หรือกอนระดับเขาเกณฑประถมศึกษา เปนการจัดแบบใหเปลา เปนการแบงเบาหนาที่ของรัฐบาลและประชาชน
            โดยไมหวังกําไรหรือผลตอบแทน เปนการสงเคราะหประชาชนอีกทางหนึ่ง และสรางความผูกพันแกเด็ก
            ในทางพระพุทธศาสนาตั้งแตระยะแรกเริ่มเรียนหรือเยาววัย สรางทัศนคติที่ดีแกผูปกครอง ในการที่วัด
            จัดการศึกษาสงเคราะหแกประชาชน ทําใหประชาชนสํานึกและเห็นคุณคาของสถาบันวัด
                        การพิจารณาจะคํานึงถึง
                       (๑)  ความพรอมในการจัดการศึกษาดานอาคารสถานที่ ผูสอน อุปกรณการเรียนการสอน
            สุขอนามัยการควบคุมดูแล และการเขารวมกิจกรรมของผูปกครอง
                       (๒)  ความพรอมในการดําเนินงาน ระบบการบริหาร งบประมาณที่ทางวัดสามารถจัดได
            อยางพอเพียงโดยมิหวังพึ่งเงินงบประมาณแผนดิน
                       (๓)  คุณภาพและปริมาณของครูและนักเรียน สวัสดิการของครู พัฒนาการและความพรอม
            ของนักเรียน
                       (๔)  งบประมาณในการดําเนินงานเปนการกุศลอยางแทจริงโดยไมเรียกเก็บคาบํารุงหรือ
            คาเลาเรียน งบประมาณอาจไดมาจากการอุปถัมภบริจาคภายนอก


            ๓. ประเภทสงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนา มี ๒ สาขา
                    ๓.๑ สาขาการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศ
                       การเผยแผพระพุทธศาสนาในที่นี้ หมายถึง บทบาทของพระสงฆหรือคฤหัสถผูทําหนาที่เผยแพร
            สั่งสอนประชาชนใหมีความรูความเขาใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จะเปนในรูปของการแสดงธรรม
            การปาฐกถาธรรม การอภิปรายในหมูประชาชน ทั้งในกลุมบุคคล ทางวิทยุ โทรทัศน และ/หรือสื่อมวลชน
            ประเภทตาง ๆ มีวารสารและหนังสือพิมพ เปนตน
                       ลักษณะการดําเนินงาน มิไดจํากัดเพียงหนาที่ของพระสงฆ ซึ่งมีการแสดงธรรมแกประชาชน
            มีระบบการดําเนินงานที่ชัดเจน ตอเนื่อง และหวังผลตอกลุมประชาชนกลุมใดกลุมหนึ่งเปนเปาหมาย อาจเปน
            ประชาชนโดยทั่วไป กลุมเจาภาพ ครูและนักเรียนตามโรงเรียนตาง ๆ ทั้งนี้ รวมถึงการจัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร
            สัจธรรมดวย พรอมทั้งมีผลงานที่ปรากฏชัดเจน ๕ ป



         8
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44