Page 173 - ศูนย์การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สู่การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างยั่งยืน
P. 173
ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์สู่การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างยั่งยืน
ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการอุดหนุนศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
ตารางที่ ๑ แสดงข้อมูลทั่วไป
สถานภาพ ร้อยละ
เพศ ชาย ๔๘.๙๐
หญิง ๕๑.๑๐
อายุ ต่ำกว่า ๑๓ ปี ๒๓.๒๐
ระหว่าง ๑๓ - ๒๔ ปี ๓๗.๓๐
ระหว่าง ๒๕ - ๓๖ ปี ๑๓.๑๐
ระหว่าง ๓๗ - ๔๘ ปี ๑๓.๔๐
ระหว่าง ๔๙ - ๖๐ ปี ๙.๔๐
๖๑ ปีขึ้นไป ๓.๖๐
อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ๖๒.๑๐
ข้าราชการ/พนักงานรัฐ ๑๘.๕๐
พนักงานบริษัท ๑.๑๐
ธุรกิจส่วนตัว ๓.๐๐
รับจ้างทั่วไป ๔.๖๐
อื่นๆ (เกษตรกร ข้าราชการบำนาญ พระภิกษุสงฆ์ ๑๐.๗๐
ครู นักบวช แม่ชี ครูพระสอนศีลธรรม จ้างเหมาบริการ
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานพิธี ผู้บริหารศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์)
ระดับการศึกษา ประถมศึกษา ๒๕.๕๐
มัธยมศึกษา ๔๐.๐๐
ปวช./ปวส. ๓.๑๐
ปริญญาตรี ๑๙.๙๐
สูงกว่าปริญญาตรี ๑๑.๑๐
อื่นๆ (อนุปริญญา เปรียญธรรม ๕ ประโยค) ๐.๔๐
จากตาราง ๑ แสดงข้อมูลทั่วไป พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่ คือ เพศหญิง ร้อยละ ๕๑.๑๐
รองลงมา คือ เพศชาย ร้อยละ ๔๘.๙๐ ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๑๓ – ๒๔ ปี ร้อยละ ๓๗.๓๐ รองลงมา คือ มีอายุ
ต่ำกว่า ๑๓ ปี ร้อยละ ๒๓.๒๐ และมีอายุระหว่าง ๓๗ - ๔๘ ปี ร้อยละ ๑๓.๔๐ ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่มีอาชีพ คือ
นักเรียน/นักศึกษา รองลงมา คือ ข้าราชการ/พนักงานรัฐ ร้อยละ ๑๘.๕๐ และประกอบอาชีพอื่นๆ (เกษตรกร ข้าราชการ
บำนาญ พระภิกษุสงฆ์ ครู นักบวช แม่ชี ครูพระสอนศีลธรรม จ้างเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานพิธี ผู้บริหารศูนย์ศึกษา
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์) ร้อยละ ๑๐.๗๐ ในด้านระดับการศึกษาผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่ มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ร้อยละ ๔๐.๐๐ รองลงมา คือ ระดับประถมศึกษาร้อยละ ๒๕.๕๐ และระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๑๙.๙๐ ตามลำดับ
165