Page 41 - เสาเสมาธรรมจักร รางวัลพระราชทาน ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗
P. 41

รางวัลเสาเสมาธรรมจักร
                                                                                        ๒๕๖๗


                        ๔.  ประเภทส่งเสริมกำรปฏิบัติธรรม
                          การปฏิบัติธรรม หมายถึง การแสดงบทบาทของวัด หรือพระสงฆ์ หรือฆราวาสที่ส่งเสริม
                  ในการปฏิบัติธรรมของประชาชนอย่างเป็นกลุ่ม เป็นคณะ มีระยะเวลาและจ�านวนผู้ปฏิบัติชัดเจน และ
                  เป็นกิจจะลักษณะโดยเฉพาะ มุ่งถึงส�านักปฏิบัติธรรมทั้งสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ไม่ได้หมายถึง
                  การเทศนาหรือบรรยายธรรมตามปกติของพระสงฆ์หรือฆราวาสโดยทั่วไป มีผลงานเป็นที่ปรากฏชัดเจน

                  ไม่น้อยกว่า ๕ ปี โดยพิจารณา ในด้านต่าง  ดังนี้
                          (๑) กิจกรรมการด�าเนินงานของสถานปฏิบัติธรรมนั้น  มีรูปแบบและระบบในการจัดกิจกรรม
                  ชัดเจน มีระยะเวลาการด�าเนินงานแน่นอน และมีความต่อเนื่อง
                          (๒) ปัจจัยที่เอื้อต่อการปฏิบัติธรรม เช่น อาคารสถานที่อาณาบริเวณที่ร่มรื่น เงียบสงบ
                          (๓) คุณภาพและปริมาณของผู้ด�าเนินการ ผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรม งบประมาณที่ใช้ในการด�าเนินงาน
                  ผลประโยชน์ที่สังคมและพระพุทธศาสนาได้รับ


                        ๕.  ประเภทส่งเสริมกิจกำรคณะสงฆ์
                          กิจการคณะสงฆ์ หมายถึง การที่สถาบันสงฆ์สามารถด�ารงอยู่ได้ก็ด้วยการอุปถัมภ์บ�ารุงของ

                  พุทธศาสนิกชนที่มีศรัทธาตั้งมั่นในพระพุทธศาสนาและด้วยความเอาใจใส่ หรือภารธุระของพระสังฆาธิการ
                  ในระดับต่าง  เพื่อให้การพระศาสนาเป็นไปด้วยความราบรื่น เรียบร้อยและมั่นคง หรือการที่สาธุชน
                  ผู้เป็นก�าลังส�าคัญในการบ�ารุงพระพุทธศาสนา ในด้านการก่อสร้าง การศึกษา การเผยแผ่ หรือเข้ามาช่วย
                  กิจการคณะสงฆ์ในด้านต่าง  ทั้งเป็นการทั่วไปไม่จ�ากัดวัดใดวัดหนึ่งโดยเฉพาะเพียงแห่งเดียวหรือหลายแห่ง
                  และมีผลงานปรากฏชัดเจนเป็นที่ยอมรับของประชาชนในพื้นที่ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ทั้งนี้ ผู้อุปถัมภ์บ�ารุง
                  พระพุทธศาสนาทั่วไป ก็จัดอยู่ในประเภทนี้ โดยพิจารณาในด้านต่าง  ดังนี้
                          (๑) ลักษณะการด�าเนินงานมีความต่อเนื่อง มีรูปแบบของกิจกรรมที่มีความหลากหลายและ

                  กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน
                          (๒) คุณภาพและปริมาณของผลงาน ระยะเวลา รวมทั้งงบประมาณที่ใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
                  และประสิทธิผล
                          (๓) ผลการด�าเนินงานเกิดประโยชน์ต่อศาสนิกชนสถาบันพระพุทธศาสนา สังคมและประเทศชาติ


                        ๖.  ประเภทกำรน�ำหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำช่วยเหลือประชำชนและพัฒนำชุมชน
                          การที่พระสงฆ์หรือฆราวาสเมื่อพิจารณาเห็นความส�าคัญของการช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือ
                  เห็นความส�าคัญของสถานที่ที่ไม่เอื้อต่อการอยู่อาศัย จึงได้พิจารณาด�าเนินการ ดังนี้
                          ด้านสาธารณสงเคราะห์ เช่น เป็นผู้น�าประชาชนและชุมชนในการจัดกิจกรรมน�าหลักธรรมทาง

                  พระพุทธศาสนาช่วยเหลือประชาชน หรือบริจาคมอบสิ่งของช่วยผู้ประสบภัยพิบัติต่าง  ช่วยเหลือผู้ขาดแคลน
                  และยากไร้ ทั้งในรูปของกองทุน สิ่งของอุปโภคบริโภค











                                                                                                9
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46