Page 8 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๖)
P. 8

๔. นิทรรศการศาสนวัตถุที่เปนสัญลักษณทางศาสนา

                ศาสนาพุทธ


                                                        พระบรมสารีริกธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจาซึ่งพระองคไดทรงอธิษฐาน
                                                 ไวกอนปรินิพพานใหคงเหลือไวหลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระเพื่อเปน

                                                 เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน ซึ่งชาวพุทธเชื่อวาพระบรมสารีริกธาตุ
                                                 เปนวัตถุแทนองคพระบรมศาสดาที่ทรงคุณคาสูงสุดในพระพุทธศาสนาจึงนิยมกระทำ
                                                 การบูชาองคพระบรมสารีริกธาตุโดยประการตาง ๆ เชน การสรางเจดีย เพื่อประดิษฐาน

                                                 พระบรมสารีริกธาตุไวสักการะ โดยเชื่อวามีอานิสงสประดุจไดกระทำการบูชาแด
                                                 พระพุทธเจาเมื่อครั้งยังทรงพระชนมอยูในการจัดงานในครั้งนี้ไดอัญเชิญ

                                                 พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเปนพระบรมสารีริกธาตุสวนพระองคของสมเด็จพระสังฆราชเจา
                                                 กรมหลวงวชิรญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร พระสังฆราชองคที่ ๑๙ แหงกรุงรัตนโกสินทร
                                                 มาประดิษฐานใหพุทธศาสนิกชนไดสักการะบูชาเพื่อความเปนสิริมงคล โดยมูลนิธิ

                                                 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชวัดบวรนิเวศวิหารในพระบรมราชูปถัมภ
                                                 รวมกับกระทรวงวัฒนธรรมและองคกรภาคี ไดจัดโครงการอัญเชิญพระบรมเกศาธาตุ

                                                 และพระบรมสารีริกธาตุจากศรีลังกา มาประดิษฐาน ณ พระตำหนักเพ็ชร
                                                 วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร และกรมการศาสนา ไดรับมอบจากสมเด็จพระวันรัต
                                                 อดีตกรรมการมหาเถรสมาคมและอดีตเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันพุธ

                                                 ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๓ ใหนำไปประดิษฐานใหพุทธศาสนิกชน ไดสักการะในโอกาส
                                                 ตาง ๆ




                ศาสนาอิสลาม



                    คัมภีรอัลกุรอานฉบับพระราชทาน คือ หนังสือหรือคัมภีร
             ซึ่งเปนบัญญัติของพระเจาเพื่อเปนธรรมนูญแหงชีวิต มีความศักดิ์สิทธิ์
             และเปนประโยชนตอมนุษย ตนฉบับคัมภีรอัลกุรอานเปนภาษา

             อาหรับ จึงมีการแปลเปนภาษาตาง ๆ ซึ่งประเทศไทยพระมหาคัมภีร
             อัลกุรอานและความหมายภาษาไทยฉบับพระราชทานเลมแรก

             แปลโดย อาจารยตวน สุวรรณศาสน จุฬาราชมนตรีคนที่ ๑๕ ของ
             ประเทศไทย ตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
             มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระราชกระแสวา

             “อยากจะใหแปลความหมายของพระมหาคัมภีรอัลกุรอานเปน
             ภาษาไทย ใหปรากฏขึ้นเปนสงาราศีแกประเทศชาติใหทัดเทียม

             กับหลาย ๆ ประเทศ ซึ่งเขาเคยจัดการแปลพระมหาคัมภีรอัลกุรอาน ซึ่งในงานไดนำพระมหาคัมภีรอัลกุรอาน และความหมาย
             เปนภาษาประจำชาติกันมาแลว” โดยเมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๑๑ ภาษาไทยฉบับพระราชทานมาแสดงใหชาวไทยไดซาบซึ้ง
             เปนวันแรกที่พระมหาคัมภีรอัลกุรอานฉบับความหมายภาษาไทย ในอรรถรสของคัมภีร และสรางความเขาใจอันดีตอศาสนิกชน

             ไดถูกจัดพิมพขึ้นถวาย และไดพระราชทานแกมัสยิดทั่วประเทศ ตางศาสนา เกี่ยวกับอิสลามและชาวไทยมุสลิมอีกดวย




              ๘   วารสารสายตรงศาสนา
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13