Page 6 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ (กุมภาพันธ์ - มีนาคม ๒๕๖๖)
P. 6

เมื่อเดินออกจากวัดแมพระลูกประคำไดแวะชิม
            ขนมครกชื่อดังยานตลาดนอย “ขนมครกกะทิสด ตำรับไทย

            เจาเกาโรงเจตลาดนอย” ซึ่งตั้งอยูบริเวณทางเขาของวัด
            กอนที่จะเดินทางไปยังสถานที่ตอไป ระหวางการเดินสังเกต
            ไดวาชุมชนยานนี้ นอกจากจะมีชื่อเสียงในกลุมชาวไทยดวย
            กันเองแลว ยังพบชาวตางประเทศพากันมาเดินทองเที่ยวใน

            ยานตลาดนอยดวยเชนกัน


                                                                          ศาลเจาโรงเกือก สรางโดยพอคาชาวจีนฮากกา

                                                                   ภายในมีเทพเจาประธาน คือ ฮอนหวอง (ฮั่นหวาง) จาก
                                                                   ประเทศจีนมาประดิษฐานบูชาในประเทศไทยเปนเวลากวา
                                                                   ๑๐๐ ป กอนที่จะมีการสรางศาลเจาหลังปจจุบันขึ้นมา ในป

                                                                   พ.ศ. ๒๔๓๑ โดยพระยาโชฎึกราชเศรษฐี (เถียร) ในสมัย
                                                                   รัชกาลที่ ๕ นอกจากศาลเจาแหงนี้แลว ตลาดนอยยังมีศาลเจา

             ระหวางการเดินไปยังศาสนสถานถัดไป คุณรุงจันทร เฉลิมวิริยะ  อีกหลายแหงที่มีชื่อเสียง เชน ศาลเจาโจวซือกง ศาลเจาเซียงกง
             หนึ่งในเครือขายทองเที่ยวยานตลาดนอย ไดพาไปเยี่ยมชม  เปนตน
             Street Art ศิลปะบนกำแพงของยานนี้ พรอมกับเชิญชวน
             ใหรวมกันถายภาพฉากหลังเหลานี้ เพื่อเปนการประชาสัมพันธ
             ยานตลาดนอยแหงนี้ใหเปนที่รูจักมากขึ้น แลวก็เดินทางมาถึง
             วัดอุภัยราชบำรุง (ญวนตลาดนอย) มีชื่อภาษาเวียดนามวา

             วัดคั้นเวิน สันนิษฐานกันวาวัดแหงนี้สรางขึ้นตั้งแต
             สมัยรัชกาลที่ ๑ เปนวัดฝายอนัมนิกายในประเทศไทย
             ไดรับพระราชทานเงินปฏิสังขรณวัดในสมัยพระบาทสมเด็จ
             พระจอมเกลาเจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
             เจาอยูหัว ตอมาไดมีการฉลองพระอาราม ในป พ.ศ. ๒๔๒๐

             รัชกาลที่ ๕ ไดโปรดเกลาฯ พระราชทานนามวา วัดอุภัยราชบำรุง
             ซึ่งหมายถึง วัดที่ไดรับพระบรมราชูปถัมภจากพระมหากษัตริย
             ๒ พระองค
                    และศาสนสถานสุดทายในยานตลาดนอย คือ มัสยิด
             หลวงโกชาอิศหาก สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยหลวงโกชาอิศ
             หากเปนขุนนางมุสลิมเชื้อสายมลายู เปนอาคาร ๒ ชั้น

             ชั้นลางใชละหมาดทั่วไป สวนชั้นบนเปดเฉพาะวันศุกรเทานั้น
             ปจจุบันอยูในความดูแลของตระกูลสมันตรัฐ ไดเปดให
             ชาวมุสลิมทั่วไปสามารถเขาไปประกอบพิธีศาสนกิจไดทุกวัน
                                                                          ปจจุบันตลาดนอยไดกลายสถานที่ทองเที่ยวแหงแรก ๆ

                                                                   ของกรุงเทพที่นักทองเที่ยวนึกถึงและอยากจะมาสัมผัส
                                                                   บรรยากาศประวัติศาสตรของสถานที่ อาหาร รวมถึงความเชื่อ
                                                                   ที่หลากหลาย แตสามารถดำรงอยูรวมกันไดอยางสันติสุข

                                                                   ภายใตอาณาเขตอันนอยนิดแตเปยมไปดวยรอยยิ้มและ
                                                                   ความเอื้อเฟอกันและกันระหวางศาสนิกชน ถือวาเปนแบบ
                                                                   อยางพื้นที่สังคมพหุวัฒนธรรมที่ดีของประเทศ



                  วารสารสายตรงศาสนา
              ๖   วารสารสายตรงศาสนา
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11