Page 5 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ (กุมภาพันธ์ - มีนาคม ๒๕๖๖)
P. 5
เรื่องเลาจากปก
เสนหศาสนสถานชุมชนยานตลาดนอย
เรียบเรียงโดย นางสาวณัฐรศนา อุดมผล
นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ กลุมศาสนสัมพันธุ กองศาสนูปถัมภ
เมื่อนึกถึงยานตลาดนอย-บางรัก เรามักจะไดยินเรื่องราว
ของยานนี้ที่ขึ้นชื่อเกี่ยวกับอาหารไมวาจะเปนกวยเตี๋ยวรูตลาดนอย
กะหรี่ปปคุณปุตลาดนอย หรือเปดตุนเจาทา เปนตน แตความจริงแลว
ชื่อเสียง และเสนหของตลาดนอยไมไดมีเพียงอาหารเทานั้น
ยังมีเรื่องราวอีกมากมายที่พรอมจะใหทุกคนไดไปสัมผัสประสบการณ
ดี ๆ โดยเฉพาะศาสนสถานของศาสนาตาง ๆ ก็เปนหนึ่งในเรื่องราว
ดี ๆ ในยานแหงนี้แรกเริ่มในยานชุมชนตลาดนอยเกิดขึ้นเมื่อครั้ง
การยายบานเรือนของชาวจีนที่ตั้งอยูในที่ดินบริเวณฟากตะวันออก
ของแมน้ำเจาพระยา ครั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราช มีพระราชประสงคในการยายพระนครจากฝงฟาก
ตะวันตกของแมน้ำเจาพระยา (กรุงธนบุรี) มายังบริเวณฟาก
ตะวันออกของแมน้ำเจาพระยา จึงพระราชทานที่ดินใหแกชาวจีน
ที่อาศัยอยูบริเวณนั้นไปยังบริเวณตั้งแตคลองใตวัดสามปลื้ม
(วัดจักรวรรดิราชาวาส) ลงไปจนถึงคลองเหนือวัดสำเพ็ง
(วัดปทุมคงคา) เรียกวา ชุมชนสำเพ็ง ชาวญวน เปนตน และสรางศาสนสถานที่ตนนับถือเพื่อเปน
สวนชื่อยาน “ตลาดนอย” เปนคำเรียกยานตลาด การคา สถานที่ศูนยรวมตัวของคนในชุมชนและประกอบศาสนกิจ
แหงใหมของชุมชนชาวจีนที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของสำเพ็ง สำหรับทริปการเดินทางเที่ยวชมศาสนสถานแตละ
ลงมาทางตอนใตที่เกิดจากการอพยพเขามาตั้งถิ่นฐานของชาวจีน ความเชื่อที่ตลาดนอย เริ่มตนที่วัดพระแมลูกประคำ
บางกอกยานกุฎีจีน รวมกับการหลั่งไหลอพยพของชาวจีนโพนทะเล (วัดกาลหวาร) ซึ่งเปนศาสนสถานสำคัญของศาสนาคริสต
ในมณฑลตาง ๆ ของประเทศจีนเขามาอยูในไทย เมื่อชาวจีนเขามา นิกายโรมันคาทอลิกเกาแกแหงหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
อยูบริเวณยานนี้แลว ตางพากันรวมกลุมตามภาษาถิ่นเพื่อสราง สรางขึ้นในชวงสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรโดยมิชชันนารี
ที่พักอาศัยใหอยูระแวกเดียวเพื่อสะดวกตอการสื่อสารและพึ่งพา ชาวโปรตุเกส ภายในมีศาสนวัตถุสำคัญและมีแหงเดียวใน
อาศัยกัน สำหรับชาวจีนกลุมแรกที่เดินทางมาตั้งถิ่นฐานบานเรือน ประเทศไทย คือ รูปพระศพของพระเยซู โดยจะนำออกมาแห
เปนกลุมแรกคือ ชาวจีนฮกเกี้ยน ไดสรางศาลเจาโจวซือกงขึ้น ในชวงวันศุกรศักดิ์สิทธิ์ (วันพระเยซูสิ้นพระชนมบนไมกางเขน)
ในป พ.ศ. ๒๓๔๗ ซึ่งชาวจีนฮกเกี้ยนเปนกลุมชาวจีนโพนทะเล นอกจากนี้ ภายในวัดยังมีการประดับกระจกสีผลิตโดย
ที่เกาแกที่สุดที่อพยพเขามาตั้งรกรากอยางมั่นคงในสยามตั้งแต บริษัท F.Hucher ณ เมือง Le Mans ประเทศฝรั่งเศส
สมัยอยุธยา นอกจากนี้ ยังไดมีชนชาติอื่น ๆ ตางพากันอพยพมา ซึ่งถือวาเปนจุดเดนสำคัญอยางหนึ่งของวัดแหงนี้นอกเหนือ
ตั้งถิ่นฐานในยานตลาดนอยดวยเชนกัน อาทิ ชาวโปรตุเกส จากสถาปตยกรรมที่โดดเดน
๑ วัลยวิภา บุรุษรัตนพันธ และสุภางค จันทวานิช, “ชาวจีนแตจิ๋วในสภาพสังคมไทยสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทรตอนตน,” ใน ชาวจีนแตจิ๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิม
ที่เฉาซัน: สมัยที่หนึ่ง ทาเรือจางหลิน (2310-2392), สุภางค จันทวานิช และคณะ, บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534), 88-89, 91.
๒ ภูมิ ภูติมหาตมะ, “จีนยานตลาดนอย: ศรัทธาและเศรษฐกิจการคาแหงจีนสยาม,” ใน Veridian E-Journal, Silpakorn University 8, 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2558): 2593.
ปที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือนกุมภาพันธ - มีนาคม ๒๕๖๖ ๕