Page 16 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ (กุมภาพันธ์ - มีนาคม ๒๕๖๖)
P. 16
การจัดทดสอบทองจําฮะดีษ ระดับชาติ ครั้งที่ ๑
สงเสริมความรวมมือดานศาสนา วัฒนธรรม และสังคม
ของราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย
เรียบเรียงโดย นางสุพัตรา หะยีอับดุลรอมาน
นักวิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ กลุมศาสนสัมพันธ กองศาสนูปถัมภ
สวนหนึ่งที่ดำเนินความรวมมือกัน คือ การทดสอบ
ทองจำอัลกุรอาน ซึ่งไดดำเนินการจัดแลวเมื่อเดือนสิงหาคม
๒๕๖๕ และครั้งนี้ไดดำเนินการจัดการทดสอบทองจำฮะดีษ
(คำสอนพระศาสดา) ระดับชาติ ครั้งที่ ๑ ประจำป ๒๕๖๕
เปนผลสืบเนื่องมาจากการจัดทดสอบทองจำอัลกุรอาน
เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๖๕ เปนการบูรณาการและเสริมสรางกัน
ระหวางอัลกุรอานและฮะดีษ ซึ่งทั้งสองประการนี้ เปน
แหลงที่มาหลักของบทบัญญัติศาสนาอิสลาม สำหรับการจัดการ
ทดสอบทองจำฮะดีษ ระดับชาติ ครั้งนี้ เปนครั้งแรกที่จัดขึ้น
ในประเทศไทยภายใตการอุปถัมภของสถานเอกอัครราชทูต
สืบเนื่องจากเจาชายมูฮัมหมัด บิน ซัลมาน บิน ซาอุดิอาระเบีย ประจำประเทศไทย รวมกับสำนักจุฬาราชมนตรี
อับดุลอาซีซ อาล ซาอูด มกุฎราชกุมาร นายกรัฐมนตรีและ และสำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย
รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม แหงราชอาณาจักร โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือการเผยแพรพระจริยวัตรอันงดงาม
ซาอุดิอาระเบีย เรียนเชิญพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ของทานนบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) อีกทั้งเพื่อกระตุนและสงเสริม
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม มวลมุสลิมใหมีความตระหนักในการอาน การทองจำ และ
เยือนราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย การเยือนและการพบปะกัน การศึกษาความหมายของฮะดีษอันเปนวจนของทานนบีมูฮัม
ระหวางผูนำทั้งสองประเทศ ทำใหการฟนฟูความสัมพันธ หมัด (ซ.ล.) และซุนนะห อันเปนจริยวัตรของทานไปปรับใช
ระหวางราชอาณาจักรไทยกับอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย ในชีวิตประจำวันอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น อันเปนการเสริม
ไดเกิดขึ้นอยางสมบูรณ และนับไดวา ตลอดระยะเวลาหลังจาก สรางพลังคุณธรรมจริยธรรมในจิตใจของผูศึกษา โดยเฉพาะ
การเดินทางไปรื้อฟนความสัมพันธระหวางสองราชอาณาจักร เยาวชนมุสลิม เพราะฮะดีษมีความสำคัญรองจากอัลกุรอาน
ของพลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ทำใหมี ตอวิถีการดำรงชีวิตของมุสลิมในการจรรโลงตนเอง ครอบครัว
ความรวมมือระหวางกันในดานตาง ๆ ระหวางสองประเทศ และสังคมใหธำรงมั่นในคุณงามความดีตามจริยวัตรอันสูงสง
มีความกาวหนา และพัฒนาไปในทิศทางที่อำนวยประโยชน ของทานนบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) แหงอิสลาม
นานัปการแกทั้งสองประเทศอยางดี รวมทั้งดานศาสนา
วัฒนธรรม และดานเศรษฐกิจการคา การลงทุน
๑๖ วารสารสายตรงศาสนา