Page 24 - ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๖๖
P. 24

เสาเสมาธรรมจักร
                                สัญลักษณและความหมาย



                         สัญลักษณ คือเครื่องหมายเปนที่กําหนดรูกันวา หมายถึง เรื่องราว
                  ประวัติความเปนมาอยางไร มีความสําคัญอยางไร และใชหมายถึงสิ่งไร
                  เชน สัญลักษณสถาบันของชาติไทยเรา คือธงไตรรงค หรือธงชาติไทยที่ใชอยู
                  ในปจจุบัน มีความหมาย ตามพระราชนิพนธบรรยายของพระบาทสมเด็จ
                  พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ วา


                                       ขอรํ่ารําพันบรรยาย
                              ความคิดเครื่องหมาย แหงสีทั้งสามงามถนัด
                                     ขาวคือบริสุทธิ์ศรีสวัสดิ์
                               หมายพระไตรรัตน และธรรมะคุมจิตไทย
                                       แดงคือโลหิตเราไซร
                                 ซึ่งยอมสละได เพื่อรักษชาติศาสนา
                                        นํ้าเงินคือสีโสภา
                               อันจอมประชา ธ โปรดเปนของสวนองค
                                       จัดริ้วเปนทิวไตรรงค
                                  จึงเปนสีธง ที่รักแหงเราชาวไทยฯ

                         นอกจากนี้แลว  ในประเทศถิ่นฐานหรือสถาบันที่มีความเจริญรุงเรืองตาง  ๆ  มักจะมี
                  ตราสัญลักษณปรากฏใหเห็นกันอยูทั่วไป ยิ่งพระพุทธศาสนาของเราซึ่งมีความเจริญรุงเรืองผานมาแลว
                  นับดวยพันป จนสืบเนื่องมาถึงประเทศไทยของเรา และเปนที่ยอมรับนับถือวาเปนศาสนาประจําชาติแลว
                  นักปราชญราชบัณฑิตไดบัญญัติตราสัญลักษณขึ้นมากมาย สัญลักษณอยางหนึ่งที่ชาวไทยเราเห็นอยู
                  เสมอ ๆ และทั่ว ๆ ไปก็คือ “ธงเสมาธรรมจักร” ซึ่งจัดทําขึ้นในคราวงานสมโภช ๒๕ พุทธศตวรรษ
                  ในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม พ.ศ. ๒๕๐๐ ที่จังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร
                  ในปจจุบัน)
                         ยอนหลังไปดูถิ่นกําเนิดของธรรมจักรในสมัยอดีต เราจะพบวงลอธรรมจักรใหญกับกวางหมอบคูกัน
                  อีกสัญลักษณหนึ่ง  ก็เปนสัญลักษณที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาเปนสัญลักษณที่ขุดไดจาก
                  อาณาจักรทวาราวดี จังหวัดนครปฐม โดยกรมศิลปากร และตั้งแสดงใหประชาชนไดเขาชมและศึกษาอยู
                  ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร
                         สัญลักษณนี้เปนสัญลักษณอันประเดิมเริ่มแรกประวัติศาสตรของพระพุทธศาสนาทีเดียว คือ
                  เปนสัญลักษณการประกาศพระพุทธศาสนาครั้งแรกของพระพุทธเจา โดยทรงเทศนาโปรดพระปญจวัคคีย
                  ๕ ทาน คือ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29