Page 10 - ตามรอยเส้นทางธรรมแห่งศรัทธา จาริกเส้นทางบุญในมิติทางศาสนา
P. 10
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ กรมการศาสนา ร่วมกับ
ส�านักงานวัฒนธรรมจังหวัดและหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่
จัดกิจกรรม “ตามรอยเส้นทางธรรมแห่งศรัทธา” น�ามิติทางศาสนา
เช่น วัด พระบรมธาตุ พระพุทธรูปส�าคัญ อริยสงฆ์ พระเถราจารย์
ในจังหวัด และมิติทางวัฒนธรรม เช่น สถานที่ที่สะท้อนความศรัทธา
และความเชื่อท้องถิ่น ชุมชนคุณธรรมต้นแบบ แหล่งท่องเที่ยว
ชุมชนยลวิถี แหล่งผลิตและจ�าหน่ายสินค้าทางวัฒนธรรม (CPOT)
เป็นต้น ร่วมกันบูรณาการในการด�าเนินกิจกรรม “ตามรอย
เส้นทางธรรมแห่งศรัทธา” ดังนี้
๑. เส้นทางสักการะพระบรมธาตุ พุทธศาสนิกชน
บริเวณลุ่มแม่น�้าโขงตั้งแต่ทางเหนือถึงใต้ มีศรัทธาในเรื่อง
ของพระบรมสารีริกธาตุ และมีต�านานที่เล่าขานเกี่ยวกับ
ความเป็นมาของพระบรมสารีริกธาตุแต่ละแห่งที่มีเอกสาร
หลักฐานและเล่าสืบต่อกันมา จนกลายเป็นเรื่องที่ฝังลึก
อยู่ในความเชื่อของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ และความเชื่อนี้ก็
ปรากฏออกมาในรูปแบบประเพณีหรือพิธีกรรม ซึ่งยึดถือกันว่า
มีความศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางใจ เมื่อใดที่ประสงค์บุญ
ประสงค์ความส�าเร็จก็จะนิยมไปกราบไหว้บูชา ขอพร นับเป็น
วิถีชีวิตที่ด�าเนินมาอย่างต่อเนื่อง
ในการนี้ กรมการศาสนาได้รับความร่วมมือจาก
ส�านักงานวัฒนธรรมจังหวัดและหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่
กิจกรรม “ตามรอยเส้นทางธรรมแห่งศรัทธา” ในการส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสสักการะบูชาพระบรมธาตุ
ภายใต้โครงการจาริกเส้นทางบุญในมิติทางศาสนา และพระธาตุ ตามคติความเชื่อต่างๆ ดังนี้
๑.๑ พระธาตุ ๑๒ นักษัตร ความเชื่อเรื่องการไหว้บูชา
กรมการศาสนา ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจหลักด้าน พระธาตุประจ�าปีเกิด ๑๒ นักษัตรเป็นคติความเชื่อของชาวล้านนา
การส่งเสริมการเผยแพร่หลักธรรมทางศาสนา สู่การปฏิบัติ ที่มีความเชื่อว่า ดวงจิตของมนุษย์ก่อนก�าเนิดจะสถิตกับพระธาตุ
ในชีวิตประจ�าวัน พัฒนาความรู้ คู่คุณธรรม รวมทั้งเสริมสร้าง ที่ต่างกันไปตามที่ โดยมี “ตั๋วเปง” หรือสัตว์ประจ�าปีนักษัตร
ความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนาและศาสนิกชนได้จัดท�า “โครงการจาริก พาไปพักเพื่อรอการถือก�าเนิดขึ้น ท�าให้ชาวล้านนามีความผูกพัน
เส้นทางบุญในมิติทางศาสนา” เพื่อส่งเสริมให้วัด ศาสนสถาน กับพระธาตุประจ�าปีนักษัตร
เป็นแหล่งเรียนรู้คู่คุณธรรมที่มีคุณภาพ พร้อมทั้งส่งเสริม ของตน และหาโอกาส
ให้ภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมส่งเสริมสนับสนุน ไปกราบไหว้สักการะเพื่อความ
การพัฒนาศักยภาพวัด ศาสนสถานให้พร้อมรับส�าหรับการเป็นแหล่ง เป็นสิริมงคล น�ามาซึ่งความ
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมที่สอดคล้อง สงบและความเจริญรุ่งเรือง
กับบริบทความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และความต้องการ แก่ชีวิต ประกอบด้วย
ของนักท่องเที่ยวผู้มารับบริการ
ตามรอยเส้นทางธรรมแห่งศรัทธา จาริกเส้นทางบุญในมิติทางศาสนา ๑