Page 110 - [E-book] วันศาสนูปถัมภ์ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๕
P. 110

¡ÃÁ¡ÒÃÈÒʹÒ




                                       องคการศาสนาซิกข




           ๑. สมาคมศรีคุรุสิงหสภา

                 ประวัติโดยยอ
                     การที่ชาวซิกขไดเขามาพักอาศัยอยูในกรุงเทพมหานครเปนจำนวนมากขึ้น จึงนำไปสูการมีศาสนสถาน
           แหงแรกของชาวซิกขในกรุงเทพฯ เพื่อประกอบกิจกรรมทางศาสนา โดยตั้งอยูบริเวณถนนบานหมอ เนื่องจากในสังคม
           ของชาวซิกข คำสอนทางศาสนาเนนถึงความรวมมือ และการใหความชวยเหลือกันภายในชุมชน นอกจากนั้นในคำสอน
           ยังระบุวาในที่ใดซึ่งมีชาวซิกขมากกวาสองครอบครัวมาอยูรวมกัน ที่นั้นควรมีสถานที่เพื่อประกอบกิจกรรมทางศาสนา
           รวมกัน แตศาสนสถานของชาวซิกขไมมีความจำเปนตองกอสราง ในรูปลักษณะที่เปนศาสนสถานถาวร ถายังไมมี
           ปจจัยที่จะกอสรางชาวซิกขสามารถใชสถานที่ใดๆ ก็ไดเปนศาสนสถาน แตบริเวณนั้นตองสะอาดและมีที่ประดิษฐาน
           พระมหาคัมภีรซึ่งถือเปนตัวแทนของพระศาสดา โดยที่ประดิษฐาน พระมหาคัมภีรจะสรางเปนแทนหรือยกพื้น
           สูงกวาบริเวณโดยรอบเหนือแทนมีผาดาดอยูเบื้องบน บริเวณใดที่มีพระมหาคัมภีรตั้งอยูบริเวณนั้นถือวาเปน
           ศาสนสถานของชาวซิกขได ดังมีหลักฐานปรากฏจากเรื่องราวที่ชาวซิกขไดทำการบันทึกถึงศาสนสถานแหงแรก
           ของพวกตนไววา เมื่อชาวซิกขเขามาอยูมากขึ้น ศาสนสถานแหงแรกจึงถูกกำหนดขึ้น กลาวคือ ศาสนิกชนชาวซิกข
           ไดเชาบานเรือนไม ๑ คูหา ที่บริเวณบานหมอ ในป พ.ศ. ๒๔๕๕ โดยขอเชาจากเจาของบาน ดวยคาเชาเพียงเล็กนอย
           จากนั้นก็ไดตกแตงใหเหมาะสมและดำเนินศาสนกิจไดในไมนาน ตอมาเมื่อสังคมซิกขเติบโตขึ้น ศาสนิกชนก็ไดยาย
           จากที่เดิม มาเชาบานหลังใหญกวาเดิมและสัญญาเชาระยะยาวกวาเดิม ณ หัวมุมถนนพาหุรัดและถนนจักรเพชร
           ปจจุบัน หลังจากตกแตงแกไขจนสามารถประกอบศาสนกิจไดแลว ก็พรอมใจกันอัญเชิญพระมหาคัมภีรอาทิครันถ
           มาประดิษฐานเปนประธาน และสวดมนตปฏิบัติศาสนกิจเปนประจำทุกวันไมมีวันหยุด นับตั้งแตป ค.ศ.๑๙๑๓
           (พ.ศ.๒๔๕๖) เปนตน เปนเวลาหลายป
                     เมื่อชุมชนขยายตัวขึ้น ชาวซิกขเห็นถึงความจำเปนตองมีศาสนสถานถาวรแทนการเชาสถานที่
           เพื่อทำเปนศาสนสถาน  ดังนั้น  ใน  พ.ศ.๒๔๗๕  ชุมชนซิกขในกรุงเทพฯ  จึงรวบรวมเงินกันเพื่อจัดซื้อที่ดิน
           และกอสรางศาสนสถานของตนขึ้น ดังมีรายละเอียดอยูในหนังสือรายงานการอุปถัมภศาสนาอื่น (ศาสนาซิกข)
           มีความวา  ตอมาในป  ค.ศ.  ๑๙๓๒  (พ.ศ.๒๔๗๕)  ศาสนิกชนชาวซิกขไดรวบรวมเงิน  เพื่อซื้อที่ดินผืนหนึ่ง
           เปนกรรมสิทธิ์ ดวยจำนวนเงิน ๑๖,๒๐๐ บาท และออกแบบแปลนกอสรางเปนตึกสามชั้นครึ่งดวยจำนวนเงิน
           อีกประมาณ ๒๕,๐๐๐ บาท สรางตึกใหญเปนศาสนสถานถาวรใชชื่อวา “ศาสนสถาน ศรีคุรุสิงหสภา” หรือ
           “คุรุดวารา ศรีคุรุสิงหสภา” (ศูนยรวมซิกขศาสนิกชนในประเทศไทย) ศาสนสถานศรีคุรุสิงหสภานี้ไดดำเนินการ
           สืบเนื่องตอมาจนถึงปจจุบัน





















                                                                                                 109
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114