Page 106 - [E-book] วันศาสนูปถัมภ์ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๕
P. 106

¡ÃÁ¡ÒÃÈÒʹÒ






                               องคการศาสนาพราหมณ-ฮินดู





           ๑. สำนักพราหมณพระราชครู ในสำนักพระราชวัง

                 ประวัติโดยยอ
                     สำนักพราหมณพระราชครู ในสำนักพระราชวัง หรือเทวสถานโบสถพราหมณ ซึ่งเปนที่รูจักของบุคคล
           ทั่วไปวา “โบสถพราหมณ” ตั้งอยูเลขที่ ๒๖๘ ถนนบานดินสอ แขวงเสาชิงชา เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร
           สรางขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
           ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เมื่อพุทธศักราช ๒๓๒๗ ภายในมีโบสถอยู ๓ หลัง กออิฐถือปูน มีกำแพงลอมรอบ
           และทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางเสาชิงชาขึ้น เมื่อวันพุธ แรม ๔ ค่ำ เดือน ๕ ปมะโรง พุทธศักราช ๒๓๒๙ ทรงสราง
           เทวสถานและเสาชิงชาขึ้นตามประเพณีพระนครโบราณ เปนเทวสถานที่มีพราหมณเปนผูดูแล และพระราชพิธีสำคัญ
           สำหรับพระนคร ทั้งนี้ ภายในเทวสถานจะประกอบดวย โบสถ ๓ หลัง ดังนี้
                     (๑) สถานพระอิศวร (โบสถใหญ) ภายในเทวสถานมีเทวรูปพระอิศวรทำดวยสำริด ปางประทานพร
           โดยยกพระหัตถทั้ง ๒ ขาง และยังมีเทวรูปขนาดกลางอีก ๓๑ องค ประดิษฐานในเบญจา (ชุกชี) ถัดไปดานหลังเบญจา
           มีเทวรูป ศิวลึงค ๒ องค ทำดวยหินสีดำ ดานหนาเบญจามีชั้นลด ประดิษฐาน เทวรูปพระพรหม ๓ องค พระราชครู
           วามเทพมุนีเปนผูสราง เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๔ พระสรัสวดี ๑ องค (พระนางสรัสวดี นี้ นายลัลลาล ประสาททวยาส
           ชาวอินเดียเปนผูถวาย เมื่อประมาณ ๒๐ ป มานี้) สองขางแทนลด มีเทวรูปพระอิศวรทรงโคนันทิและพระอุมาทรงโคนันทิ
           ตรงกลางโบสถมีเสาลักษณะคลายเสาชิงชา ๒ ตน สูง ๒.๕๐ เมตร สำหรับประกอบพิธีชาหงสในพระราชพิธี
           ตรียัมพวาย-ตรีปวาย ในวันแรม ๑ ค่ำ เดือนยี่ (พระพรหม) พิธีขาหงสในวันแรม ๑ ค่ำ และวันแรม ๕ ค่ำ เดือนนั้น
                     (๒)  สถานพระพิฆเนศวร (โบสถกลาง) ภายในโบสถมีเทวรูปพระพิฆเนศวร ๕ องค ลวนทำดวยหิน
           คือ หินแกรนิต ๑ องค หินทราย ๑ องค หินเขียว ๒ องค ทำดวยสำริด ๑ องค ประดิษฐานบนเบญจา ประทับนั่งทุกองค
                     (๓) สถานพระนารายณ  (โบสถริม)  ภายในทำชั้นยกตั้งบุษบก  ๓  หลัง  หลักกลางประดิษฐาน
           พระนารายณทำดวยปูน ประทับยืน ๒ องคนี้เปนองคจำลองของเดิมไว (ของเดิมไดยายไปอยูที่พิพิธภัณฑ
           ในสมัยน้ำทวม พุทธศักราช ๒๔๘๕) ตรงกลางโบสถมีเสาลักษณะคลายเสาชิงชาขนาดยอม สำหรับประกอบพิธีชาหงส
           สูง ๒.๕๐ เมตร เรียกวา “เสาหงส”
                      บริเวณลานเทวสถาน ดานหนาประตูทางเขามีเทวาลัยขนาดเล็ก ประดิษฐานพระพรหมตั้งอยูกลาง
           บอน้ำสรางขึ้นเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๑๕ สมัยพระราชครูวามเทพมุนี เทวสถานไดขึ้นทะเบียนเปน “โบราณวัตถุสถาน”
           สำคัญของชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ นอกจากนี้ยังมีเสาชิงชา ตั้งอยูทางทิศตะวัน
           ออกเฉียงใตของโบสถพราหมณ หรือ หนาวัดสุทัศนเทพวนาราม แขวงเสาชิงชา เขตพระนคร ซึ่งพระบาทสมเด็จ
           พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดฯใหสรางขึ้นตรงหนาเทวสถาน
           เมื่อวันพุธ แรม ๔ ค่ำ เดือน ๕ ปมะโรง พุทธศักราช ๒๓๒๗ ตอมาสรางโรงกาด (โรงเก็บน้ำมันกาด) ขึ้น ณ ที่นั่น
           จึงยายเสาชิงชามา ณ ที่ตั้งปจจุบัน การสรางเสาชิงชาขึ้นก็เพื่อจะรักษาธรรมเนียมการสรางพระนครตามอยางโบราณไว
           โดยถือคติวาจะใหพระนครมีความมั่นคงแข็งแรง ตอมา กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงชา เปน “โบราณวัตถุ
           สถาน” สำคัญของชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒








                                                                                                 105
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111