Page 290 - มหัศจรรย์อาราม งดงาม ทั่วไทย เล่ม ๑
P. 290

วัดกลางดง ตั้งอยู่อ�ำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย สร้ำงเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐

                                                         และต่อมำได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ภำยในวัดมีอุโบสถ ศิลปะคล้ำยวัด
                                                         ในจังหวัดเชียงใหม่และล�ำปำง เป็นสถำปัตยกรรมที่วิจิตรงดงำม องค์พระเจดีย์ ๕ ยอด สีทอง

                                                         ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับพระวิหำร ซึ่งเป็นศิลปะพม่ำ ภำยในบรรจุแก้วแหวนเงินทองที่มีค่ำจ�ำนวนมำก
                                                         นอกจำกนี้ ยังมีมณฑปอนุสำวรีย์ครูบำเจ้ำศรีวิชัย (นักบุญแห่งล้ำนนำ) ลักษณะเป็นรูปหล่อ
                                                         ลอยองค์เท่ำองค์จริง ประดิษฐำนอยู่ในมณฑป สำเหตุที่ครูบำเจ้ำศรีวิชัยมำประดิษฐำน

                                                         ที่วัดกลำงดง  เนื่องจำกลูกศิษย์เอกของครูบำเจ้ำศรีวิชัย  (คือพระทองสุก  คุณำรักษ์)
                                                         เป็นคนบ้ำนกลำงดง  พระครูบำเจ้ำศรีวิชัยให้ลูกศิษย์ของท่ำนมำสร้ำงพระธำตุเจดีย์

                                                         ทองค�ำ ๕ ยอด
                                                                 สิ่งส�าคัญ คือ พระธำตุเจดีย์ทองค�ำ ๕ ยอด ซึ่งยอดฉัตรมีลูกแก้วมงคลโป่งขำม
                                                         และมีทองค�ำหุ้มลูกแก้วไว้บนยอดสุดจ�ำนวน ๑๐.๒๕ บำท และสร้ำงพระพุทธรูปบนประตูทำงเข้ำ

                                                         ๔ ซุ้ม บรรจุพระพุทธชินรำช จ�ำนวน ๑๒ องค์ ซึ่งบนองค์พระธำตุเจดีมีซุ้มพระพุทธรูป ๔ ซุ้ม
                                                         นอกจำกนี้ ยังได้บรรจุพระพุทธรูปเก่ำแก่ ๔ สมัย คือ สมัยสุโขทัย อู่ทอง อยุธยำ และเชียงแสน
                                                         อำยุแต่ละองค์กว่ำ ๓๐๐ ปี บรรจุไว้ที่ซุ้มด้ำนบน นับเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศำสนิกชน

                   แผนที่                                ชำวสุโขทัยที่ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง



               264       มหัศจรรย์อาราม งดงามทั่วไทย เล่ม ๑
   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295