Page 32 - วารสารสายตรงศาสนา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ (กุมภาพันธ์ - มีนาคม ๒๕๖๖)
P. 32

เยี่ยมยลเสนทางบุญ




                                    นมัสการสังเวชนียสถาน ณ ดินแดนพุทธภูมิ



                                                                                        เรียบเรียงโดย นางสาวนฤมล ดวงสุวรรณ
                                                                           นักวิชาการศาสนาชำนาญการ สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม


























                    สังเวชนียสถาน ๔ ตำบล เปนอนุสรณียสถาน          เผยแผพระธรรมใหกวางขวางสูเด็กและเยาวชน สำหรับ
             ที่ทำใหรำลึกถึงราชประวัติของพระพุทธเจาที่พุทธศาสนิกชน  พุทธศาสนิกชนสามารถเขาถึงหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา
             ใหความสำคัญและสนใจ ควรไดไปศึกษาคำสั่งสอน            พุทธศาสนิกชนสามารถเขาถึงหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา

             ที่พระพุทธองคทรงคนพบ ซึ่งไดเริ่มตน ณ ดินแดนแหงนี้  และสามารถนำไปปรับใชในชีวิตประจำวันได โดยไดนำ
             และเพื่อรำลึกถึงพุทธคุณที่ทรงมีตอมวลมนุษย การไดไป  พระสงฆและพุทธศาสนิกชนเดินทางไปประกอบศาสนกิจ

             กราบไหวบูชาพระพุทธเจา ณ ดินแดนพุทธภูมิ จึงเปน      ณ สังเวชนียสถาน ๔ ตำบล สาธารณรัฐอินเดียและสหพันธ
             จุดมุงหมายสูงสุดของชีวิตสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกคน      สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล ซึ่งแบงการเดินทางออก
             ที่ครั้งหนึ่งในชีวิตไดไปสัมผัสกับดินแดนศักดิ์สิทธิ์ที่เคย  เปน ๒ รุน ดังนี้

             เปนตนกำเนิดของพระพุทธศาสนา ซึ่งดำรงอยูมาถึง               รุนที่ ๑ : เดินทางระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๗ มีนาคม
             ๒,๖๐๐ กวาป                                          ๒๕๖๖ จำนวน ๙ คน

                    ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ กรมการศาสนา                    รุนที่ ๒ : เดินทางระหวางวันที่ ๒๕ มีนาคม - ๒
             โดยกองทุนสงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนาเฉลิมพระเกียรติ  เมษายน ๕๖๖ จำนวน ๕๑ รูป/คน

             ๘๐ พรรษา ไดสงเสริมสนับสนุนใหพระภิกษุและพุทธศาสนิกชน       นอกจากนี้กองทุนฯ ไดสนับสนุนการดำเนินการ
             ไดมีโอกาสไปเรียนรูพระพุทธศาสนาจากดินแดนพุทธภูมิ     รวมกับศูนยอำนวยความสะดวกผูเดินทางไปประกอบ
             เพื่อใหเกิดการเรียนรูและเขาใจพระพุทธศาสนาอยางถองแท  ศาสนกิจจำนวน ๙ แหง เพื่อบริหารจัดการศูนยอำนวย

             พระภิกษุสงฆสามารถนำบทเรียนที่ไดสัมผัสจากประสบการณ  ความสะดวกฯ และเปนการเตรียมความพรอมในการอำนวย
             จริงโดยตรง อันเปนบทเรียนที่ทรงคุณคาตอการถายทอดและ  ความสะดวกฯ แกผูเดินทางไปแสวงบุญตอไป













              ๓๒  วารสารสายตรงศาสนา
                  วารสารสายตรงศาสนา
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37