Page 63 - [E-book] วันศาสนูปถัมภ์ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๕
P. 63

วันศาสนูปถัมภ์  พ�ทธศักราช ๒๕๖๕


























                     ในหวง  ๖  ปที่ผานมา  คณะกรรมการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติรวมกับภาคประชารัฐ
           ทุกภาคสวน ทุกกระทรวง ทุกจังหวัดรวมพลัง  เปลี่ยนสังคมไทยใหเปน “สังคมคุณธรรม” ที่เอื้ออาทรและแบงปน
           บมเพาะคุณธรรม  พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา โดยบูรณาการการทำงานรวมกัน อาทิ การประชุม
           “ประชารัฐรวมใจขับเคลื่อนสังคมไทยสูสังคมคุณธรรม” การจัดงานสมัชชาคุณธรรม ๔ ภาค การสงเสริม
           คานิยม ๑๒ ประการ การสงเสริมอัตลักษณความเปนไทยและความมีน้ำใจ การประกวดสื่อสรางสรรคสงเสริม
           คุณธรรม เปนตน สงเสริมใหคนไทยปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ นอมนำหลักปรัชญาของ
           เศรษฐกิจพอเพียง และวิถีวัฒนธรรมไทยที่ดีงามมาประยุกตใชในชีวิต รวมทั้งเปน “ไทยนิยม” ที่นิยมทำ
           แตสิ่งดีงามและถูกตอง มีคุณธรรมตามหลักคิด พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา รวมเปนพลังสำคัญในการ
           สรางสรรคสังคมไทยใหเกิดความเขมแข็งอยางมีคุณภาพและมีคุณธรรม ผานกลไกประชารัฐของรัฐบาล
           อันจะสงผลใหเกิดการพัฒนาประเทศที่มีความสมดุลทั้งดานวัตถุและจิตใจ ตามแนวคิด “คุณธรรมนำการพัฒนา”
                     แผนแมบทสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔) ฉบับนี้ จึงเปนกลไก
           สําคัญของรัฐ เปนเสมือนพิมพเขียวหรือแนวทางสําหรับทุกภาคสวนของสังคม ในการขับเคลื่อนสงเสริม
           คุณธรรมสูประชาชน ผลที่ไดรับ คือ
                     ประเทศชาติ มีความสงบสุข สมานฉันท มั่นคง ดวยมิติทางศาสนาอยางยั่งยืน เปนแบบอยางใน
           การสงเสริม คุณธรรมของประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
                     สังคม เปนสังคมคุณธรรม ที่ยึดมั่นในสถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย
           มีความเอื้ออาทรและแบงปน
                     ประชาชน มีพฤติกรรมที่ถูกตองดีงาม ดวยหลักธรรมทางศาสนา มีความมั่งคั่ง เขมแข็งดวยหลัก
           ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมไทย
                     เพื่อใหเกิดความตอเนื่อง คณะกรรมการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ ไดรวมกันจัดทำแผนปฏิบัติ
           การดานการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) โดยกำหนดคุณธรรมที่พึงประสงค
           สำหรับสังคมไทย ๕ ประการเพื่อนำสูความเปน “มนุษยที่สมบูรณ” ประกอบดวย “พอเพียง วินัย สุจริต
           จิตอาสา และกตัญู” ซึ่งครอบคลุมหลักธรรมทางศาสนาที่สอนใหมนุษยเปนคนดี มีคุณธรรม พรอมทั้งนอมนำ
           ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และรักษาสืบสานวิถีชีวิตวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม ซึ่งเปนหลักนำทางและหลักคิดใน
           การดำรงชีวิต และการพัฒนาใหปรากฏชัดเปนรูปธรรมในสังคมไทยมากขึ้น
                       ในวันนี้ และอีก ๒๐ ป ขางหนา อนาคตประเทศไทย “คนไทยมีพฤติกรรมที่สะทอนการมี
           คุณธรรมเพิ่มขึ้น มุงสูสังคมคุณธรรมที่คนไทยอยูรวมกันดวยความสมานฉันท ภายใตหลักธรรมทางศาสนา
           ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิถีวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม และประเทศไทยปลอดทุจริตและประพฤติมิชอบ”


       62 62
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68